1 / 21

การวางแผนการพยาบาล (planning)

การวางแผนการพยาบาล (planning). ธีรนุช ห้านิรัติศัย. เป็นขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลที่มีการพิจารณาอย่างรอบคอบและเป็นระบบ โดยใช้วิธีการตัดสินใจและแก้ปัญหา (Kozier, 1995). ประโยชน์. บอกทิศทางการให้การพยาบาลที่เฉพาะสำหรับผู้รับบริการ ช่วยให้การพยาบาลได้อย่างต่อเนื่อง

mya
Télécharger la présentation

การวางแผนการพยาบาล (planning)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวางแผนการพยาบาล(planning)การวางแผนการพยาบาล(planning) ธีรนุชห้านิรัติศัย เป็นขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลที่มีการพิจารณาอย่างรอบคอบและเป็นระบบ โดยใช้วิธีการตัดสินใจและแก้ปัญหา (Kozier, 1995)

  2. ประโยชน์ • บอกทิศทางการให้การพยาบาลที่เฉพาะสำหรับผู้รับบริการ • ช่วยให้การพยาบาลได้อย่างต่อเนื่อง • บอกแนวทางในการติดตามประเมินความก้าวหน้า • เป็นแนวทางในการมอบหมายงานให้แก่บุคลากรในทีมสุขภาพ

  3. ชนิดของการวางแผนการพยาบาลชนิดของการวางแผนการพยาบาล • การวางแผนในระยะแรก (initial planning) • การวางแผนในระยะต่อมา (ongoing planning) • การวางแผนการพยาบาลการก่อนจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล (discharge planning)

  4. กระบวนการวางแผนการพยาบาล (the planning process) • การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา • การกำหนดวัตถุประสงค์ทางการพยาบาลและเกณฑ์การประเมินผล • การกำหนดกิจกรรมการพยาบาล • การบันทึกแผนการพยาบาล

  5. การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา • ระดับสูง (high priority) • ระดับปานกลาง (medium priority) • ระดับต่ำ(low priority)

  6. การกำหนดวัตถุประสงค์และเกณฑ์การประเมินผลการพยาบาลการกำหนดวัตถุประสงค์และเกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล • การกำหนดวัตถุประสงค์ทางการพยาบาล “ ข้อความที่บ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นกับผู้รับบริการหลังจากที่ให้บริการแล้ว” • การกำหนดเกณฑ์การประเมินผล “พฤติกรรมของผู้รับบริการที่กำหนดใช้เป็นมาตรฐานในการตรวจสอบผลการปฏิบัติว่ามีการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์ที่เปลี่ยนแปลง”

  7. การกำหนดวัตถุประสงค์ • เป็นแนวทางในการกำหนดกิจกรรมการพยาบาล • เป็นแนวทางในการกำหนดเกณฑ์การประเมินผล • เป็นแนวทางในการพิจารณาตัดสินว่า ข้อวินิจฉัยนั้นควรบรรลุวัตถุประสงค์เมื่อไร

  8. วัตถุประสงค์ทางการพยาบาลวัตถุประสงค์ทางการพยาบาล • วัตถุประสงค์ระยะสั้นเช่น ความเจ็บปวดลดลงอยู่ในระดับ 4ภายใน 30 นาที • วัตถุประสงค์ระยะยาว เช่น “ ความเจ็บปวดหายไป”

  9. หลักการกำหนดวัตถุประสงค์ทางการพยาบาลหลักการกำหนดวัตถุประสงค์ทางการพยาบาล • ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง “ได้รับสารอาหารเพียงพอ” ใช้ ความเจ็บปวดลดลง ไม่ใช้ ลดความเจ็บปวด • สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล “ มีศักยภาพในการดูแลตนเองเหมาะสม” • “ คงไว้ซึ่งการดูแลตนเองที่เหมาะสม” • มีความเป็นไปได้ พิจารณาความเป็นไปได้ของผู้รับบริการและพยาบาล “ อาการปวดท้องหายไป” “ อาการปวดท้องทุเลาลง”

  10. หลักการกำหนดวัตถุประสงค์ทางการพยาบาล(ต่อ)หลักการกำหนดวัตถุประสงค์ทางการพยาบาล(ต่อ) • สอดคล้องกับแผนการรักษา • ในแต่ละข้อวินิจฉัยอาจมีวัตถุประสงค์มากกว่า 1ข้อ “ เกิดแผลกดทับเนื่องจากเคลื่อนไหวตนเองไม่ได้และขาดสารอาหาร” “แผลกดทับดีขึ้น” “ไม่เกิดแผลกดทับในตำแหน่งอื่น” “ภาวะโภชนาการดีขึ้น” • มีความชัดเจนและกระทัดรัด: “ ผู้ป่วยมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น รูปร่างสมส่วนเหมือนที่เป็นอยู่”

  11. เกณฑ์การประเมินผล • การทำหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ: การเคลื่อนไหวของลำไส้arterial blood gasลักษณะการหายใจ • อาการเฉพาะต่างๆ : คลื่นไส้ อาเจียน • ความรู้ : บอก อธิบาย • ทักษะ : ทำแผลได้ถูกวิธี • อารมณ์ : แสดงความรู้สึกเกี่ยวกับ__ พูดแสดงถึงความจำเป็นสงบ ผ่อนคลาย

  12. หลักการกำหนดเกณฑ์การประเมินผลหลักการกำหนดเกณฑ์การประเมินผล • วัดได้ สังเกตได้ : ดื่มน้ำได้ 2000 ซีซี /วัน • อธิบาย รู้ เข้าใจ • ระบุเวลา • Ex: ในการตรวจครั้งต่อไป ระดับน้ำตาลในเลือด อยู่ระหว่าง 100-150 มก%

  13. หลักการกำหนดเกณฑ์การประเมินผลหลักการกำหนดเกณฑ์การประเมินผล • สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และข้อมูลสนับสนุนมีความเป็นไปได้: ได้รับสารอาหารเพียงพอ • รับประทานอาหารได้มากกว่า ½ ถาดทุกมื้อ • ระดับอัลบูมินในเลือด>3.5 กรัม % • แต่ละวัตถุประสงค์มีเกณฑ์ได้มากกว่า 1 ข้อ • Diag: การติดเชื้อที่ปอดลดลง • ไม่มีเสมหะที่ปอด ไข้ลดลง ไม่พบเชื้อในเสมหะ

  14. การกำหนดกิจกรรมการพยาบาลการกำหนดกิจกรรมการพยาบาล วิธีการปฏิบัติพยาบาลเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของผู้รับบริการ โดยมีความสอดคล้องและสัมพันธ์ที่เฉพาะสำหรับข้อวินิจฉัย พยาบาลเป็นผู้พิจารณาเลือกและนำมาปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วย

  15. ประเภท: กิจกรรรมพยาบาล • กิจกรรมการพยาบาลที่ไม่อิสระ (dependent intervention) • กิจกรรมที่ปฏิบัติร่วมกับบุคลากรอื่น(collaborative intervention) • กิจกรรมพยาบาลที่อิสระ • (independent intervention) • ป้องกัน ส่งเสริม บำบัด ฟื้นฟู

  16. หลักการกำหนดกิจกรรมการพยาบาลหลักการกำหนดกิจกรรมการพยาบาล • มีความสอดคล้องกับข้อวินิจฉัยการพยาบาล • มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การพยาบาล • มีพื้นฐานจากความรู้และประสบการณ์ • คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้รับบริการ • คำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (จุดเด่น จุดด้อย สิทธิและอิสรภาพ)

  17. หลักการกำหนดกิจกรรมการพยาบาล (ต่อ) • มีความสอดคล้องกับแผนการรักษาของแพทย์และบุคลากรอื่น • คำนึงถึงความเป็นไปได้ในการปฏิบัติพยาบาล • ใช้คู่มือการพยาบาลเป็นแนวทาง

  18. วิธีการเขียนกิจกรรมการพยาบาลวิธีการเขียนกิจกรรมการพยาบาล • ระบุวันที่ • ระบุกริยาที่เป็นการกระทำ ส่วนขยายกริยา เวลา • เขียนกิจกรรมโดยลำดับความสำคัญก่อนหลัง

  19. Nursing Diagnosis Projected Outcome Nursing Intervention Creative Ideas Of the Nurse Choices Capabilities and Resources of The Client Research Findings

  20. การประเมินผล เป็นกระบวนการตัดสินว่า ขั้นตอนต่างๆของกระบวนการพยาบาลที่กระทำไปแล้วมีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาหรือไม่

  21. ผลลัพธ์ของการประเมินผลผลลัพธ์ของการประเมินผล • ผลเป็นไปตามที่คาดหวัง • ปัญหายังไม่ได้รับการแก้ไข แต่มีแนวโน้มที่จะได้รับการแก้ไข • ปัญหายังคงเดิม • ปัญหาเกิดขึ้นใหม่

More Related