1 / 36

การจัดทำผลงานวิชาการ

การจัดทำผลงานวิชาการ. ไพโรจน์ พอใจ. เราจะเริ่มสร้างผลงานทางวิชาการได้อย่างไร ?. 1. วางแผนก่อน/วางแผนอย่างไร? 2. ประเมิน/มีข้อมูลในการจุดประกายที่จะทำ? ปัญหาอะไร/ทำไม? 3. หาตัวช่วย/ผู้ช่วยในรูปคณะทำงาน (ในโรงเรียน)

nadda
Télécharger la présentation

การจัดทำผลงานวิชาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำผลงานวิชาการ ไพโรจน์ พอใจ

  2. เราจะเริ่มสร้างผลงานทางวิชาการได้อย่างไร ? 1. วางแผนก่อน/วางแผนอย่างไร? 2. ประเมิน/มีข้อมูลในการจุดประกายที่จะทำ? ปัญหาอะไร/ทำไม? 3. หาตัวช่วย/ผู้ช่วยในรูปคณะทำงาน (ในโรงเรียน) 4. หาตัวช่วยภายนอกโรงเรียน (ผู้รู้เชิงวิชาการและเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ) 5. คิดกระบวนการทำงานแล้วใส่เป็นปฏิทินการปฏิบัติงานไว้ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 1

  3. 6. ดำเนินงานตามปฏิทินที่กำหนดไว้แล้ว และให้ทำอย่างต่อเนื่อง 7. คณะทำงานเริ่มเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในกระบวนการวิจัย/ประเมินโครงการ โดยผู้ช่วยภายนอก (ระดับมหาวิทยาลัย) 8. ใช้ระบบ PDCA ดำเนินงาน 9. เริ่มได้ผลงานที่เป็นระบบ มีคุณภาพ และเกิดจากการปฏิบัติจริง เป็นที่ยอมรับ คณะทำงานนำมาจัดทำผลงานทางวิชาการ 10. ผู้ช่วยภายนอก ช่วยเหลือ เสริม เติมเต็ม ให้ได้ผลงานทางวิชาการที่ถูกต้องมีคุณภาพยิ่งขึ้น (ในลักษณะกลั่นกรอง) 11. เสนอเพื่อรับการประเมินต่อไป PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 2

  4. การเริ่มต้นวันนี้อย่างไรการเริ่มต้นวันนี้อย่างไร 1. การทำงานแบบครบวงจร/แบบเป็นระบบ ? 2. ข้อมูล (Data) และสารสนเทศ (Information) คืออะไร? เกี่ยวกับแบบประเมินอย่างไร 3. เราจะทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศได้อย่างไร 4. ชี้แจงแบบประเมินคร่าวๆ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 3

  5. การเริ่มต้นวันนี้อย่างไรการเริ่มต้นวันนี้อย่างไร 5. แนวทางการพัฒนางาน/การเก็บหลักฐานประกอบการรับการประเมิน 5.1 ไม่ได้วางแผนไว้ เราจะทำอย่างไร? 5.2 วางแผนไว้เป็นระบบ เราจะทำอย่างไร ? PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 4

  6. ผลงานวิชาการ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 5

  7. งานวิชาการ •  งานวิจัย •  งานวิชาการอื่นๆ • สื่อการเรียนรู้ • รายงานผล • รายงานการประเมิน • บทความ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 6

  8. ข้อสังเกตของงานวิชาการอื่นข้อสังเกตของงานวิชาการอื่น  รูปแบบของสื่อ  นวัตกรรม  ประโยชน์  คุณภาพ  ประสิทธิภาพ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 7

  9. ชนิดของสื่อการเรียนรู้ชนิดของสื่อการเรียนรู้  หนังสือ  แบบเรียน  สื่ออิเล็กทรอนิกส์  คู่มือ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 8

  10. โครงสร้างของคู่มือเรียนโครงสร้างของคู่มือเรียน  ส่วนนำ  ส่วนเนื้อ  ส่วนเสริม PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 10

  11. ส่วนเนื้อของคู่มือ  สาระสำคัญ  วัตถุประสงค์  วัดผลการเรียน  เนื้อหา  กิจกรรม  วัดผลหลังเรียน PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 11

  12. การพัฒนาสื่อ  การทดลองใช้  การปรับปรุง  การใช้จริง - เผยแพร่ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 12

  13. การทดลองใช้ •  ผู้เชี่ยวชาญ • การทดลองใช้กับผู้เรียน • 1 : 1 • 1 : 5 • 1 : 30 PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 13

  14. ผู้เชี่ยวชาญ  จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  ความเชี่ยวชาญ  ประเด็น - เครื่องมือ  สถิติ - ข้อมูล PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 14

  15. การทดลองใช้ •  คุณภาพ • ด้านกายภาพ • ด้านเนื้อหา • ด้านกิจกรรม •  ประสิทธิภาพ • ผลสัมฤทธิ์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 15

  16. รายงานการทดลองใช้ บทที่ 1  ความเป็นมา  วัตถุประสงค์  นิยามศัพท์เฉพาะ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 16

  17. รายงานการทดลองใช้ บทที่ 2  ขอบข่ายการเขียน  การสรุป เชื่อมโยง  ข้อค้นพบ ข้อคิด การใช้ประโยชน์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 17

  18. รายงานการทดลองใช้ บทที่ 3  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง  เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล  คุณภาพเครื่องมือ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 18

  19. รายงานการทดลองใช้ บทที่ 4  การวิเคราะห์ข้อมูล  การแปลความ  การนำเสนอด้วยตาราง  ข้อมูลเชิงคุณภาพ  ความครบถ้วนของข้อมูล PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 19

  20. รายงานการทดลองใช้ บทที่ 5  การเขียนบทที่ 4 กับบทที่ 5  การสรุปตามวัตถุประสงค์  การอภิปรายผล  ข้อเสนอแนะ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 20

  21. ข้อสังเกตอื่น ๆ เรื่องสื่อ  ปกหน้า ปกหลัง  การพิมพ์คำถูกผิด  การจัดรูปเล่ม  การพิมพ์กั้นหน้ากั้นหลัง PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 21

  22. ข้อสังเกตอื่น ๆ เรื่องสื่อ  การเขียนบรรณานุกรม  การเขียนเชิงอรรถ  ประวัติผู้เขียน  รายละเอียดการพิมพ์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 22

  23. ข้อสังเกตอื่น ๆ เรื่องสื่อ •  รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ •  การนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์ • คุณภาพเครื่องมือ • ค่า IOC SPSS •  ทำจริง ใช้จริง เกิดประโยชน์จริง PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 23

  24. รายงานการประเมินผล •  รูปแบบการประเมิน • ยึดวัตถุประสงค์ • ไม่ยึดวัตถุประสงค์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 24

  25. รายงานการประเมินผล •  กรอบการประเมิน • วัตถุประสงค์ • ประเด็นการประเมิน • เกณฑ์การประเมิน • เครื่องมือ – การวิเคราะห์ข้อมูล • แหล่งข้อมูล PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 25

  26. รายงานการประเมินผล •  เกณฑ์การประเมิน • พัฒนาขึ้นใหม่ • ใช้ของคนอื่น PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 26

  27. รายงานการประเมินผล •  สรุปผลการประเมิน • เปรียบเทียบข้อมูลกับเกณฑ์ • ตัดสินผลการเปรียบเทียบ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 27

  28. ข้อสังเกตอื่น ๆ ของการประเมิน  การเขียนวัตถุประสงค์การประเมิน  การเขียนขอบเขตการประเมิน  ข้อมูลในบทที่ 2  การรายงานโครงการที่ประเมิน PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 28

  29. ข้อสังเกตอื่น ๆ ของการประเมิน  เกณฑ์การประเมิน  เครื่องมือการประเมิน  การอภิปรายตาราง  การเขียนบทที่ 4 กับบทที่ 5 PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 29

  30. ข้อสังเกตอื่น ๆ ของการประเมิน  ผู้เชี่ยวชาญ  ข้อมูลในภาคผนวก  ประวัติผู้ประเมิน  ทำจริง ใช้จริง เกิดประโยชน์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 30

  31. รายงานการวิจัย บทที่ 1  การระบุความเป็นมา ปัญหา  วัตถุประสงค์กับความเป็นมา ปัญหา  ขอบเขตการวิจัยกับตัวแปรวัตถุประสงค์  ประโยชน์กับปัญหา วัตถุประสงค์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 31

  32. รายงานการวิจัย บทที่ 2  ความครบถ้วนในองค์ประกอบ  การสรุป นำไปใช้ในการทำวิจัย  ปริมาณ สาระ  การอ้างอิง PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 32

  33. รายงานการวิจัย บทที่ 3  ความครบถ้วนของหัวข้อ  การสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล  วิธีการนำเสนอ สถิติ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 33

  34. รายงานการวิจัย บทที่ 4  ตารางวิเคราะห์กับเครื่องมือ  การอธิบายตาราง  การใช้สถิติ  การเปรียบเทียบกับการทดสอบทางสถิติ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 34

  35. รายงานการวิจัย บทที่ 5  การสรุปผลกับวัตถุประสงค์  ความสัมพันธ์ของการสรุป การอภิปราย และข้อเสนอแนะ  การอภิปรายผลกับบทที่ 2  ข้อเสนอแนะกับผลการวิจัย PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 35

  36. ข้อสังเกตอื่นๆ ของการวิจัย  การเขียนเชิงอรรถ บรรณานุกรม  ข้อมูลในภาคผนวก  การจัดรูปเล่มให้ประทับใจ  การใช้เอกสารอ้างอิง - ใหม่ - มาก  ทำจริง ใช้จริง เกิดประโยชน์ PRP.5 วิทยฐานะ ว.17 36

More Related