1 / 1

เจ้าของผลงาน : หน่วยระบบทางเดินหายใจ โทร. 043-366224

ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และการให้คำปรึกษาเลิกบุหรี่ ในคลินิกเลิกบุหรี่ หน่วยระบบทางเดินหายใจ. โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ( n = 51 ). ระดับความรุนแรง ของโรค. จำนวน. ร้อยละ. น้อย. 25. 49.02. ปานกลาง. 24. 47.06. มาก. 2. 3.92. มากที่สุด. -. -. นัดรักษาต่อเนื่องทีคลินิก

Télécharger la présentation

เจ้าของผลงาน : หน่วยระบบทางเดินหายใจ โทร. 043-366224

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และการให้คำปรึกษาเลิกบุหรี่ ในคลินิกเลิกบุหรี่ หน่วยระบบทางเดินหายใจ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ( n = 51) ระดับความรุนแรง ของโรค จำนวน ร้อยละ น้อย 25 49.02 ปานกลาง 24 47.06 มาก 2 3.92 มากที่สุด - - นัดรักษาต่อเนื่องทีคลินิก โรคหืดและโรคถุงลมโป่งพอง (n = 51) มาตรวจตามนัด 12 23.51 76.49 ไม่มาตรวจ 39 เจ้าของผลงาน : หน่วยระบบทางเดินหายใจ โทร. 043-366224 สังกัด : แผนกการพยาบาลอายุรกรรม งานบริการพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Share & Learn 2013 ความเป็นมาและแนวคิด • การสูบบุหรี่เป็นปัญหา และปัจจัยเสี่ยงก่อโรคร้ายแรงซึ่งสามารถป้องกันได้ เช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคหัวใจ • โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มีนโยบายชัดเจนเป็น“โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ” • ใช้กระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจ สร้างกำลังใจ เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ดีขึ้น • หน่วยระบบทางเดินหายใจ ดำเนินคลินิกเลิกบุหรี่และรณรงค์การเลิกสูบบุหรี่กับผู้รับบริการและบุคลากรเป็นประจำทุกปี • โดย คัดกรองการสูบบุหรี่ผู้ใช้บริการทุกราย ก่อนตรวจสมรรถภาพปอด • การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและผลของการให้คำปรึกษาในคลินิกเลิกบุหรี่ วิธีการดำเนินการ (How to) ระยะเวลาการศึกษาระหว่างเดือน สิงหาคม 2555 – เมษายน 2556 ดำเนินการโดยการคัดกรองประวัติการสูบบุหรี่ก่อนตรวจสมรรถภาพปอดทุกรายและให้คำปรึกษาผู้ป่วยเพื่อลิกสูบบุหรี่ทุกราย โดยใช้ กระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง PDCA P = Plan ขั้นตอนที่ 1: คัดกรองประวัติการสูบบุหรี่ ขั้นตอนที่ 2: ตอบแบบสอบถามประเมินภาวะสุขภาพ และระดับการติดบุหรี่ A = Act ผู้ป่วยที่ยังไม่เลิกสูบบุหรี่ได้สอบถามปัญหาอุปสรรค สิ่งที่ต้องการให้บุคลากรช่วยเหลือ นัดมาตรวจสมรรถภาพปอด 1 ปีให้กำลังใจ กระตุ้น ให้กำลังใจผู้สูบบุหรี่ D = Do ขั้นตอนที่ 3: ตรวจสมรรถภาพปอดคัดกรองผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ขั้นตอนที่ 4: พยาบาลให้คำปรึกษาเลิกสูบบุหรี่ โดยวิเคราะห์ข้อมูล/อาการ จากแบบประเมินร่วมกับผลตรวจสมรรถภาพปอด ผลกระทบบุหรี่ต่อสุขภาพ ประโยชน์ที่ได้รับจากการเลิกสูบบุหรี่ ยกตัวอย่างผลตรวจสมรรถภาพปอดผู้สูบบุหรี่/เลิกบุหรี่สำเร็จ และวิธีการเลิกสูบบุหรี่ C = Check ขั้นตอนที่ 5: โทรศัพท์ประเมินผลการเลิกสูบบุหรี่การให้คำปรึกษาเลิกบุหรี่ ผมเลิกบุหรี่แล้วครับ ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้สูบบุหรี่ 240 ราย ผลการดำเนินงาน คัดกรองเป่าปอด 5,632 ราย ตรวจสุภาพประจำปี 167 ราย (69.56 % ผู้ป่วยนอก &ใน 73 ราย (30.42%) สูบบุหรี่ 240 ราย (4.26 %) เหตุผลที่ เลิกสูบ อยากเลิก ตั้งใจมุ่งมั่น เลิกเพื่อครอบครัว เพื่อสุขภาพ ของตนเอง สูบแล้วไม่เกิดประโยชน์ สังคมรังเกียจ การเรียนรู้/การนำไปใช้ประโยชน์ การคัดกรองผู้ป่วยทุกรายด้วยการสอบถามสถานะของการสูบบุหรี่ ให้คำปรึกษาเลิกบุหรี่ ทุกหน่วยงานควรได้ตระหนัก ให้ความสำคัญเพื่อป้องกันโรคกลุ่มเสี่ยงจากการสูบบุหรี่ ซึงโอกาสพัฒนาในคลินิกโรคหืดและโรคถุงลมโป่งพอง ควรมีการติดตามผู้สูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องเป็นระบบ เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ กระตุ้นให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ได้ทั้งหมด และการพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพในการให้คำปรึกษาเลิกสูบบุหรี่ รวมถึงกระจายการเข้าถึงบริการคลินิกเลิกบุหรี่

More Related