1 / 59

สัญญา เครือหงษ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

PHP. Hypertext Preprocessor. สัญญา เครือหงษ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. เดิม PHP ย่อมาจาก Personal Home Page. ลักษณะของเว็บเพจ. แบบ Static ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจนกว่าจะมีการ Upload ไฟล์ใหม่ มีการปรับปรุงเว็บยาก เช่น HTML

neila
Télécharger la présentation

สัญญา เครือหงษ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. PHP Hypertext Preprocessor สัญญา เครือหงษ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เดิม PHP ย่อมาจาก Personal Home Page

  2. ลักษณะของเว็บเพจ • แบบ Static ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจนกว่าจะมีการ Upload ไฟล์ใหม่ • มีการปรับปรุงเว็บยาก เช่น HTML • แบบ Dynamic เพื่อให้มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้ทันที • CGI (Common Gateway Interface) • Perl • DHTML • การแทรก Script ลงใน HTML • ASP PHP JSP ฯลฯ

  3. Web Server • การทำงานของ เว็บเพจ • Client/Server • Server ของเว็บเพจ เรียกว่า Web Server • IIS (Internet Information Services) • PWS (Personal Web Server) • Apache • Browser • Internet Explorer • Netscape

  4. ลักษณะการทำงานของ Internet Response Web Server Request Client

  5. Static Web Pages • เป็นเว็บเพจที่พัฒนาในระยะแรกๆ • มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ที่จำกัด เนื่องจากมีการกำหนดรูปแบบการกระทำต่างๆไว้ล่วงหน้า • รูปแบบของ Page จึงเป็นลักษณะเดิมอยู่เสมอ

  6. 3. Web server locates .html file 1. Author Writes HTML 4. HTML stream (from .htm page) Returned to browser Web Server 5. Browser Processes HTML And displays Pages 2. Client request Webpage Client

  7. Dynamic Web Pages • มีโครงสร้างเหมือนกับ Static Web Pages • แต่มีชุดคำสั่ง Scriptที่ทำให้ HTML tag สามารถสนองต่อการกระทำต่างๆ ได้ และสามารถกำหนดการทำงานได้ เช่น • สั่งให้คำนวณหลังคลิกปุ่ม • นำข้อมูลจากฐานข้อมูลขึ้นมาแสดงได้ • การทำให้ภาพเคลื่อนไหวบน Page ได้

  8. Script เว็บเพจที่กำหนดการกระทำต่างๆเพื่อสามารถรองรับสถานการณ์ ที่ความว่าจะเกิดขึ้นได้ทันที • Client-Side Script • จะถูกแปล Script โดย Browser เช่น VBScript, JavaScript • Server-Side Script • จะถูกแปลและประมวลผลโดย Web Server เช่น ASP , PHP ,JSP

  9. Client-Side Script 3. HTML stream (from .htm page) Returned to browser 2. Web Server lacate .htm File Web Server 4. Browser Process Client-side script 5. Browser Processes HTML And displays Pages 1. Client Request Webpage Client

  10. Server-Side Script 3. Web server processes instruction to create HTML 2. Web server Instruction File Web Server 4. HTML Stream returned to Browser 5. Browser Processes HTML And displays Pages 1. Client Request Webpage Client

  11. Scripting Language • PHPเป็นภาษาจำพวก scripting language คำสั่งต่างๆจะเก็บอยู่ในไฟล์ที่เรียกว่า สคริปต์ (script) และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัวแปลชุดคำสั่ง ตัวอย่างของภาษาสคริปก็เช่น JavaScript, Perl เป็นต้น • ลักษณะของ PHP ที่แตกต่างจากภาษาสคริปต์แบบอื่นๆ คือ PHP ได้รับการพัฒนาและออกแบบมา เพื่อใช้งานในการสร้างเอกสารแบบ HTML โดยสามารถสอดแทรกหรือแก้ไขเนื้อหาได้โดยอัตโนมัติ ดังนั้นจึงกล่าวว่า PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า server-side หรือ HTML-embedded scripting language เป็นเครื่องมือที่สำคัญชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เราสามารถสร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีลูกเล่นมากขึ้น

  12. ลักษณะเด่นของ PHP • ใช้ได้ฟรี • PHP เป็นโปร แกรมวิ่งข้าง Sever ดังนั้นขีดความสามารถไม่จำกัด • Conlatfun-นั่นคือPHP วิ่งบนเครื่อง UNIX,Linux,Windows ได้หม • เรียนรู้ง่าย เนืองจาก PHP ฝั่งเข้าไปใน HTML และใช้โครงสร้างและไวยากรณ์ภาษาง่ายๆ • เร็วและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมือใช้กับ Apach Xerve เพราะไม่ต้องใช้โปรแกรมจากภายนอก • ใช้ร่วมกับ XML ได้ทันที • ใช้กับระบบแฟ้มข้อมูลได้ • ใช้กับข้อมูลตัวอักษรได้อย่างมีประสิทธิภาพใช้กับโครงสร้างข้อมูลใช้ได้แบบ Scalar,Array,Associative array • ใช้กับการประมวลผลภาพได้

  13. ติดตั้ง PHP โดยใช้ Apache จำลองเป็น Web Server • สำหรับการติดตั้ง Apache ผมจะแนะนำโปรแกรม Appserv ซึ่งเป็น โปรแกรมที่รวมเอา package • Appserv คือ โปรแกรมที่รวมเอา Package ประกอบด้วย • Apache Web Server • PHP Script Language • MySQL Database • phpMyAdmin Database Manager

  14. ขั้นตอนการติดตั้ง Web Server ด้วย AppServ

  15. กรุณาจำ password ให้ได้ เพราะต้องใช้ใน phpMyadminโดย User คือ root พอร์ตปกติคือ 80 อาจใช้พอร์ตอื่นได้เช่น 8080

  16. การเซ็ต EditPlus ให้เชื่อมต่อกับ WebServer • เปิดโปรแกรม Edit Plus แล้วเข้าไปที่เมนู ToolsPreferences • จากนั้นไปกดที่ Tools • กด Add เพื่อเพิ่มรายการ • กด Edit เพื่อแก้ไขรายการเดิม (ซึ่งปกติมันจะอ่านที่อยู่บนสุดเสมอ) • จากนั้นกำหนดชื่อ Host หรือ IP • แล้วกำหนด Folder ที่จะทำงาน • จากนั้นกลับที่หน้าจอหลัก แล้วลองเขียนโปรแกรม PHP แล้วกด Ctrl+B เพื่อทดสอบ

  17. Run ดังนี้ http://localhost

  18. ใช้โปแกรม Notepad หรือ editor สร้างเอกสาร PHP โดยมีคำสั่งดังนี้ Sample.php <html><title>ทดสอบ Script แรก</title><body><?Php echo "ผมสามารถเขียน PHP ได้แล้วครับ";?></body></html> ให้บันทึกไฟล์ลงที่โฟลเดอร์ C:\AppServ\www

  19. คำอธิบายหรือ Comment ในภาษา PHP • ถ้าเราต้องการเขียนคำอธิบายในส่วนใดๆก็ตามของสคริปต์ • เราก็จะสามารถทำได้โดยใช้ /* ... */ เหมือนในภาษาซี • หรือ // เหมือนในภาษาจาวา หรือ # เหมือน shell script โปรดสังเกตว่า // ใช้เขียนนำคำอธิบายในภายบรรทัดหนึ่งๆเท่านั้น ส่วน # ใช้เริ่มต้นของบรรทัดที่เขียนคำอธิบาย <? # comment $a = 41; // set $a to 41. $b =10; // set $b to 10. $b += $a; /* add $a to $b */ echo $b," \n"; ?>

  20. คำสั่งพื้นฐาน คำสั่ง Echo • รูปแบบคำสั่ง Echo ข้อความที่1,ข้อความที่1,ข้อความที่1,....; ตัวอย่าง <?echo"Hello Word <br>";echo"Hello PHP Programming";?> Sample1.php

  21. คำสั่ง Printf • รูปแบบคำสั่งPrintf(String format,…); คำสั่ง Printf จะทำงานเหมือนกับคำสั่ง echo และ print เพื่อส่งข้อมูลไปแสดงที่ Brownser แต่คำสั่ง Printf นั้นสามารถที่จะกำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลได้ด้วย เหมือนกับภาษา C <?$name="WerachaiNukitram";$old=21;$salary=3900.45;$key=165;printf("ชื่อ %s ",$name);printf("<br>อายุ %d ",$old);printf("<br>เงินเดือน %.2f ",$salary);printf("<br>Character ของ key คือ %c ",$key);?> Sample3.php

  22. สัญลักษณ์ในฟังก์ชั่น printf(); %dเลขฐานสิบ %bเลขฐานสอง %cรหัส ASCII %fทศนิยม %oเลขฐานแปด %sตัวอักษร String %x , %Xเลขฐานสิบ

  23. คำสั่ง Flush • โดยปกติคำสั่งที่ใช้ในการส่งข้อมูลไปยัง Browser นั้นจะต้องมีการเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำในส่วนที่เรียกว่า Buffer ก่อน และส่งข้อมูลไปก็ต่อเมื่อ ข้อมูลที่อยู่ใน Buffer นั้นเต็ม Flushนั้นจะ ทำให้ข้อมูลที่อยู่ใน Buffer ถูกส่งไปแสดงที่ Browser โดยทันที โดยไม่ต้องรอให้ข้อมูลใน Buffer นั้นเต็ม รูปแบบของคำสั่ง Flush();<? Echo"ส่งข้อความไปให้ Browser"; Flush(); ?> บางคำสั่งอาจจะใช้แทนกันได้ครับ เช่น print กับ Echo

  24. ชนิดของข้อมูลและตัวแปรชนิดของข้อมูลและตัวแปร • สำหรับการเขียนโปรแกรมสำหรับภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง สิ่งที่จะขาดเสียมิได้คือ การกำหนดและใช้ตัวแปร (variable) ตัวแปรในภาษา PHP จะเหมือนกับในภาษา Perl คือเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย dollar ($) โดยเราไม่จำเป็นต้องกำหนดแบบของข้อมูล (data type) อย่างเจาะจงเหมือนในภาษาซี เพราะว่า ตัวแปลภาษาจะจำแนกเองโดยอัตโนมัติว่า ตัวแปรดังกล่าว ใช้ข้อมูลแบบใด ในช่วงเวลานั้นๆ เช่น ข้อความ จำนวนเต็ม จำนวนที่มีเลขจุดทศนิยม ตรรก เป็นต้น

  25. Integer จำนวนเต็มบวก และจำนวนเต็มลบ เลขฐานสิบ ฐานแปด และฐานสิบหก • Float เก็บจำนวนจริงทั้งบวกและลบ ทั้งมีทศนิยม และไม่มีทศนิยม • String เก็บจำนวนตัวเลข และ ข้อความ • Array เ ก็บข้อมูลทเป็นชุด หรือ อาร์เรย์ • Object เก็บข้อมูลในลักษณะออปเจ็กต์เพื่อการเรียกใช้เป็น • Class Object หรือ FunctionType juggling เก็บข้อมูลในลักษณะเฉพราะหรือผู้ที่ใช้เพิ่มเข้ามา

  26. หลักการตั้งชื่อ ตัวแปร • $var-name=value; • ขอบเขตการตั้งชื่อตัวแปร- ขึ้นต้นด้วยเครื่งหมาย $ แล้วตามด้วยตัวอักษร A-Z,a-z- มีความยาวไม่เกิน 255 ตัวอักษร- ห้ามมีจุดทศนิยม หรือช่องว่าง- จะต้องไม่ตรงกับคำสงวน และควรตั้งชื่อ ให้มีความหมายใกล้เคียงกับ ค่าที่เก็บ- ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่จะเป็นตัวแปรต่างกัน- ถ้าตั้งตัวแปรมาใหม่ แล้วทับตัวแปรเก่า ค่าของตัวแปรเก่าจะหายไป

  27. การประกาศค่าตัวแปร • 1.Integer เก็บจำนวนเต็มบวก และจำนวนเต็มลบ เลขฐานสิบ ฐานแปด และฐานสิบหก$a=123;$a=-123; Sample1.php <?$a=123;$b=456;$c=$a+$b;echo"$c";?>

  28. 2. Float เก็บจำนวนจริงทั้งบวกและลบ ทั้งมีทศนิยม และไม่มีทศนิยม $a=1.23;$a=-1.23; Sample2.php <? $a=123.45; $b=456.78; $c=$a*$b; printf("%.2f ",$c);?>

  29. 3.String เก็บจำนวนตัวเลข และ ข้อความ • $a="PHP Programming";$a="1234567890"; Sample3.php <?$a="PHP Programming";$b="1234567890"; echo"$a <br> $b";?>

  30. สัญลักษณ์ \n หมายถึงการขึ้นบรรทัดใหม่ เป็น escape character ตัวหนึ่ง (สำหรับตัวอื่นๆ โปรดดูในตาราง) เมื่อพิมพ์ข้อความเป็นเอาพุต และโปรดสังเกตว่า สำหรับการใช้งานภายในเอกสาร HTML การขึ้นบรรทัดใหม่โดยใช้ \n จะแตกต่างจากการขึ้นบรรทัดโดยใช้ <BR> ใน HTML Escaped characters \n newline \r carriage \t horizontal tab \\ backslash \$ dollar sign \" double-quote %% percent

  31. ตัวแปร Array • เป็นตัวแปรชุดที่มีการเก็บค่าตัวแปรที่มี ชนิดของข้มูลเหมือนกัน เช่น เก็บ รายชื่อของพนักงาน อายุ เงินเดือน • Arrary 1 มิติ • การประกาศตัวแปร $a[5] จะมีสมาชิก 6 ตัวคือ $a[0],$a[1],$a[2],$a[3],$a[4],$a[5] $a[0]="Somchai";$a[1]="Werachai";$a[2]="Surachai";$a[3]="Adisorn";

  32. การใช้คำสั่ง each และ list สำหรับ associative array ถ้าเราต้องการจะเข้าถึงข้อมูลแต่ละคู่ที่ถูกเก็บอยู่ใน associative array เราอาจจะใช้วิธีเรียกผ่านฟังก์ชัน each() และ list() ตามตัวอย่างต่อไปนี้ Sample <? unset($a); $a = array( "a" => 10, "b" => 20, "c" => 30 ); while (list($key,$value) = each($a)) { echo "$key=$value <BR>\n"; } ?> Out Puta=10 b=20c=30

  33. Arrary 2 มิติ • การประกาศตัวแปร $a[2][2] จะมีสามชิก 8 ตัว คือ $a[0][0],$a[0][1],$a[0][2],$a[1][0],$a[2][0],$a[1][1],$a[1][2],$a[2][2], $a[0][0]="Somchai";$a[0][1]="Werachai";$a[1][2]="Surachai";

  34. Array 3 มิติ Sample <?$a[0]="Somchai";$a[1]="Werachai";$a[2]="Surachai";$a[3]="Adisorn";$b[0]=20;$b[1]=21;$b[2]=22;$b[3]=23;for($i=0;$i<=3;$i++){echo"name : $a[$i] Old $b[$i] <br>";}?> $a[0][0][0]="Somchai";$a[0][1][2]="Werachai";$a[1][2][3]="Surachai"; Out Put

  35. การตรวจสอบว่าตัวแปร การตรวจสอบชนิดของตัวแปรgettype($var-name); ตัวอย่างเช่น<?$a=1234;echo gettype($a);?> การตรวจสอบว่าตัวแปรนี้มีการกำหนดค่าหรือไม่isset($var-name);ตัวอย่างเช่น <? $a=1234; if (isset($a)){ echo"มีการกำหนดค่าตัวแปร"; }else{ echo“ไม่มีการกำหนดค่าตัวแปร"; }?>

  36. การตรวจสอบว่าตัวแปร การตรวจสอบว่าตัวแปรนี้มีค่าว่างหรือไม่empty($var-name); <? $a=1234;if (empty($a)){echo"ตัวแปรมีค่าว่าง"; }else{echo"ตัวแปรมีค่าไม่ว่าง"; }?>

  37. ค่าคงที่ Constant • คือ ค่าที่กำหนดแล้ว สามารถเรียกใช้งานได้ทุก ๆ ครั้ง ที่เราประกาศขึ้นมา สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ • 1.ค่าคงที่ PHP กำหนดมาให้ เป็นค่าที่เราสามารถนำไปใช้งานได้ทันที่

  38. ค่าคงที่ Constant (ต่อ) • 2.ค่าคงที่ที่ผู้ใช้กำหนดขึ้นเองเราสามารถกำหนดค่าคงที่ เหมือนกับการประกาศตัวแปร รูปแบบDefine(Constant-name,Value) เมื่อ Constant-name ชื่อ ของค่าคงที่Value ค่าที่จะกำหนดให้ เช่น DEFINE("name","WerachaiNukitram");DEFINE("old","21");DEFINE("add","Surin");

  39. Operator และ การเปรียบเทียบทางคณิต ฯ ใน PHP มีโอเปอเรเตอร์ด้วยกันทั้งหมด 7 ชนิดด้วยกันดังนี้ จะยกตัวอย่างที่จำเป็นที่เราต้องนำไปใช้เท่านั้นครับ

  40. Operator และ การเปรียบเทียบทางคณิต ฯ(ต่อ) • Arithmetic Operators โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์

  41. Operator และ การเปรียบเทียบทางคณิต ฯ(ต่อ) • String Operators เป็น โอเปอเรเตอร์ที่ใช้กับข้อความซึ่งจะใช้ (.) เพียง โอเปอเรเตอร์เดียว ตัวอย่าง <?$a = "PHP";$b = "Programming";$c = $a.$b;echo"$c";?> Out Put PHPProgramming

  42. Operator และ การเปรียบเทียบทางคณิต ฯ(ต่อ) • Assignment Operators โอเปอเรเตอร์กำหนดค่า โอเปอเรเตอร์พื้นฐานคือ "=" คือคุณจะต้องคิดว่าค่าทางซ้ายมือของโอเปอเรเตอร์คือผลลัพธ์จากคำสั่งที่กระทำทางขวามือ $a = 3; $a += 5; // $a = 8, มีความหมายว่า $a = $a + 5; $b = "Hello ";$b .= "There!"; // $b = "Hello There!",เหมือนกับ $b = $b . "There!";

  43. Assignment Operators(ต่อ)

  44. Operator และ การเปรียบเทียบทางคณิต ฯ(ต่อ) • Logical Operators โอเปอเรเตอร์เชิงตรรกศาสตร์

  45. Operator และ การเปรียบเทียบทางคณิต ฯ(ต่อ) • Comparison Operators โอเปอเรเตอร์เชิงเปรียบเทียบ

  46. เงื่อนไขสายงานเพื่อการตัดสินใจ 1. If...else สามารถใช้ได้ 2 วิธคือ Sample1.php <?$a = 1;if ($a==1) { echo"a=1 OK"; }?> <? if ($x == 0) { echo $x; echo " is zero.<BR>\n"; } else if ($x > 0) { echo $x; echo " is positive.<BR>\n"; } else { echo $x; echo " is negative.<BR>\n"; } ?> Out Put a=1

  47. เงื่อนไขสายงานเพื่อการตัดสินใจ (ต่อ) • 2.if..elseif..esle <?$a = 4;if ($a==1){ echo" a = 1 OK ";} elseif ($a==2){ echo" a = 2 OK";} elseif ($a==3){ echo" a = 3 OK ";}else{ echo" a Not OK ";}?> Out Put a Not OK

  48. เงื่อนไขสายงานเพื่อการตัดสินใจ (ต่อ) • 3.Switch Case <?$a = 3;Switch ($a){case 1 : echo "a = 1 OK";break;case 2 : echo "a = 2 OK";break;case 3 : echo "a = 3 OK";break;case 4 : echo "a = 4 OK";break;default : echo " a Not OK"; } ?> out Put a = 3 OK

  49. เงื่อนไขสายงานเพื่อการตัดสินใจ (ต่อ) • 3.Break คำสั่ง break และ continue ภายในลูปอย่างที่ใช้กันในภาษาซี ก็นำมาใช้กับภาษา PHP ได้ ตัวอย่างเช่น • 4.Continue เป็นคำสั่งกระโดการทำงานรอบใหม่ คือ เมื่อโปรแกรมเจอคำสั่งนี้จะกระโดดทำงานใหม่ทันที

More Related