1 / 37

ผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชนรูปแบบใหม่

ผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชนรูปแบบใหม่. คณะทำงานการปรับปรุงรูปแบบการจัดทำผังเมืองรวม คณะทำงานชุดย่อยปรับปรุงรูปแบบการจัดทำผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน. 21 สิงหาคม 2557 โรงแรมบางกอก ชฎา กรุงเทพฯ. ผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน รูปแบบใหม่ รูปแบบใหม่ต่างจากปัจจุบันอย่างไร รูปแบบใหม่หน้าตาเป็นอย่างไร

nero-henson
Télécharger la présentation

ผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชนรูปแบบใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชนรูปแบบใหม่ คณะทำงานการปรับปรุงรูปแบบการจัดทำผังเมืองรวม คณะทำงานชุดย่อยปรับปรุงรูปแบบการจัดทำผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน 21 สิงหาคม 2557 โรงแรมบางกอก ชฎา กรุงเทพฯ

  2. ผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน รูปแบบใหม่ • รูปแบบใหม่ต่างจากปัจจุบันอย่างไร • รูปแบบใหม่หน้าตาเป็นอย่างไร • รูปแบบใหม่แก้ปัญหาได้อย่างไร • จะทำอย่างไร และใครเป็นผู้ทำ ?

  3. รูปแบบใหม่ต่างจากปัจจุบันอย่างไรรูปแบบใหม่ต่างจากปัจจุบันอย่างไร Refocusing DPT Planning : Policy Plan + Development Plan แก้ปัญหาเมือง ปรับเปลี่ยน การควบคุม New Comprehensive Plan ชี้นำการพัฒนา

  4. สรุปสาระสำคัญจากกรณีศึกษา: ผังเมืองต้นแบบ 5 ประเทศ แผนผังสอดคล้องทุกระดับ ครอบคลุมนโยบายถึงรายละเอียด มีลักษณะเฉพาะ ท้องถิ่นและประชาชนมีส่วนร่วม ฐานข้อมูลเป็นระบบ เข้าใจและเข้าถึงได้ง่าย มีเครื่องมือการพัฒนาเมืองที่หลากหลาย ขยายอายุผัง • มีแผนและผังที่สอดคล้องกันทุกระดับ • ผังเมืองครอบคลุมระบบเมืองตั้งแต่นโยบายถึงการปฏิบัติ มีลักษณะเฉพาะของแต่ละท้องถิ่น • ท้องถิ่นบริหารจัดการเมืองเข้มแข็ง ทั้งการวางผัง แผนงานโครงการ แผนเงิน(ทั้งเข้าและออก) • ประชาชนมีส่วนร่วมกระบวนการวางผังตั้งแต่ต้นจบจน • จัดเก็บฐานข้อมูลเป็นระบบ มีความเป็นปัจจุบัน สื่อความด้วยสัญลักษณ์ ประชาชนสามารถเข้าใจและเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย • ใช้เครื่องมือการพัฒนาเมืองที่หลากหลาย เช่น กลไกทางภาษี,TDR, Bonus, PPP มาตรการทางการเงิน เป็นต้น • ผังไม่มีการหมดอายุ แต่บังคับให้ปรับปรุงตามช่วงเวลา หรือเมื่อพื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่

  5. ผังเมืองรวม การนำไปปฏิบัติ การใช้ที่ดิน* คมนาคมขนส่ง* *ควบคุม ใช้บังคับ กม. แหล่งงาน ที่อยู่อาศัย แผนนโยบาย ระบายน้ำ ไฟฟ้า งานพัฒนาเมือง ขยะ แผนงานโครงการ น้ำดี - น้ำเสีย แผนเงิน * ระบบผังเมืองไทย ในปัจจุบัน

  6. กรอบแนวคิด (Conceptual framework) การวางผังเมืองรวมรูปแบบใหม่ในระยะยาว • มาตรการควบคุม* • Land use plan ฯลฯ • Regulation Strategiesfor planning Conceptual Plan* Master plan* มาตรการพัฒนา* • Land use plan ฯลฯ • Infrastructure Plan • Development Plan • Investment Plan • Data analysis เช่น • Policy • Ecology • Economic • Spatial analysis • Population • Climate change • เครื่องมือวิเคราะห์เช่น SWOT • ฯลฯ Target • การสนับสนุนทางเทคนิค • Guidance& Knowledge มาตรการทางการเงิน • Budget, Tax & Incentive • Management & Funding ประเมินผล • * ขั้นตอนที่ต้องการการมีส่วนร่วมของประชาชน

  7. รูปแบบใหม่หน้าตาเป็นอย่างไร?รูปแบบใหม่หน้าตาเป็นอย่างไร? ตัวอย่าง ผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชนรูปแบบใหม่ คณะทำงานการปรับปรุงรูปแบบการจัดทำผังเมืองรวม คณะทำงานชุดย่อยปรับปรุงรูปแบบการจัดทำผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน 21 สิงหาคม 2557 โรงแรมบางกอก ชฎา กรุงเทพฯ

  8. สาระ • การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์เพื่อการวางแผน • ผังแนวความคิด • ผังแม่บทการพัฒนาเมือง • แนวความคิดการพัฒนาเมือง • แผนผังประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การพัฒนาตามผังเมือง • แผนงานโครงการพัฒนาตามผังเมืองรวมเมืองสารขันธ์

  9. กรอบแนวคิด การวางผังเมืองรวมรูปแบบใหม่ • มาตรการควบคุม • Land use plan ฯลฯ • Zoning & Regulation Strategies for Planning Conceptual Plan Master plan Target มาตรการพัฒนา • Land use plan ฯลฯ • Infrastructure Plan • Development Plan • Investment Plan

  10. Strategies for planning (P1) Policy Plan ศูนย์อุตสาหกรรมเซรามิคประเทศ เมืองต้นแบบ LOW Co2 ศูนย์กลางโลจิสติกอนุภาค การวิเคราะห์พื้นที่ ความต้องการประชาชน Strategies น้ำไม่ท่วม Spatial Analysis เศรษฐกิจคึกคัก มีแหล่งงานเพิ่ม เดินทางสะดวก S T ปลอดมลพิษ ฯลฯ O W ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ P1

  11. Conceptual Plan (P2) • พื้นที่ทรงคุณค่าพัฒนาเชิงอนุรักษ์ พื้นที่ซึ่งมีศักยภาพการพัฒนา POSITION (A1) SETTLEMENT (A2) POLICY A3 A5 P2 ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ความต้องการประชาชน A4 A6 พื้นที่ซึ่งเป็นปัญหา/ ข้อจำกัด Suitability CREATIVITY

  12. Master plan 7 8 สวนสาธารณะ/ พื้นที่รับน้ำ(Water park) พื้นที่แก้มลิง + Treatment plant MAP-P3

  13. จากผังแม่บท สู่ การพัฒนาเมือง • ย่าน/ • พื้นที่ตามผังแม่บท • แนวความคิด • ในการพัฒนา • แนวความคิด • ทางผังเมือง • รูปแบบ และความหนาแน่น • ผัง แผน กฎ • การพัฒนาพิเศษ ก ข ค • พื้นที่อ่อนไหว ควบคุมเข้มข้น • พัฒนา ปรับปรุงเพื่อรองรับรถไฟความเร็วสูง • พัฒนาตามความเหมาะสมของพื้นที่ซึ่งเป็นที่ลุ่มต่ำน้ำท่วมถึง เพื่อใช้เป็นปอดและพื้นที่รองรับน้ำของเมือง • Conservation • Car-Free Zone • Transition – Multimodal • Urban Green Area • อนุรักษ์/ ความหนาแน่นต่ำ • ความหนาแน่นสูง • ความหนาแน่น ต่ำมาก • ควบคุมอาคาร ความสูง ขนาด รูปแบบ สี ป้าย การเข้าออกยานพาหนะ • การพัฒนาพื้นที่บริเวณโดยรอบ ‘Overlay zone’ ของ TOD โบนัส • ควบคุมอาคาร ความสูง ขนาด รูปแบบ สี ป้าย อย่างเข้มข้น • พัฒนาเป็นสวนสาธารณะ ลานกีฬา พื้นที่ชุ่มน้ำ

  14. ผังแม่บท สู่ การพัฒนาเมือง

  15. ผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคตผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต

  16. จากผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต สู่ ข้อกำหนดฯ • ประเภท • การใช้ประโยชน์ที่ดิน เจตนารมณ์/ วัตถุประสงค์ • ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ย่าน

  17. ตารางแสดงความสัมพันธ์ของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินกับกิจกรรม ผังเมืองรวมเมืองสารขันธ์

  18. ตารางแสดงความสัมพันธ์ของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินกับกิจกรรม ผังเมืองรวมเมืองสารขันธ์

  19. ตารางแสดงความสัมพันธ์ของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินกับกิจกรรม ผังเมืองรวมเมืองสารขันธ์

  20. แผนผังโครงข่ายคมนาคมการขนส่ง Development plan เส้นทางจักรยาน/ รถม้า จุดจอดรถม้า ถนนสายหลัก: ความเร็วสูง รถยนต์ รถบรรทุก ถนนสายรอง: รถยนต์ ขนส่งมวลชน เส้นทางจักรยาน/รถม้า สถานีระบบราง ระบบราง สถานีขนส่ง สนามบิน เพิ่มโครงข่ายระหว่างแต่ละย่าน และโครงข่ายทางจักรยานในถนนสายหลัก บริหารจัดการการจราจรในถนนบางสายเพื่อลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล และส่งเสริมการท่องเที่ยว MAP-PA2

  21. แผนผังโครงการกิจการสาธารณูปโภคแผนผังโครงการกิจการสาธารณูปโภค

  22. แผนผังที่โล่งและโครงข่ายสีเขียวแผนผังที่โล่งและโครงข่ายสีเขียว Development plan เมืองสีเขียว เพื่อเพิ่มพื้นที่ดูดซับก๊าซเรือนกระจก แหล่งน้ำ พื้นที่สีเขียว เพิ่มข้อกำหนดในเรื่อง ที่โล่งซึ่งเป็นพื้นที่สีเขียวเพื่อให้น้ำซึมลงใต้ดิน และพื้นที่สีเขียวซึ่งช่วยดูดซับก๊าซเรือนกระจกในการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ MAP-PA3

  23. แผนงานโครงการพัฒนาตามผังเมืองรวมเมืองสารขันธ์ โครงการสวนแนวตั้ง ทางจักรยานในชีวิตประจำวัน เส้นทางรถม้า ทางจักรยานเพื่อออกกำลัง+ท่องเที่ยว โครงการอนุรักษ์ย่านเมืองเก่า จุดจอดรถม้า ปรับปรุงพื้นที่ริมแม่น้ำวัง โรงเรียนการบิน ปรับปรุงสถานีรถไฟและร้านค้าโดยรอบ ปรับปรุงสถานีขนส่ง ศูนย์การขนส่งสาธารณะ สนง.ส่งเสริมการส่งออก ศูนย์ออกแบบสร้างสรรค์+พิพิธภัณฑ์เซรามิค ปรับปรุงย่านศิลปะหัตถอุตสาหกรรม พิพิธภัณฑ์การเงินการธนาคาร โครงการจัดรูปที่ดิน โครงการสวนสาธารณะ/ พื้นที่รับน้ำ 1 5 2 3 3 4 4 1 6 5 4 6 2 5 7 8 10 10 7 9 15 16 12 14 12 16 13 14 15 11 8 11 13 9 MAP – UD1

  24. แผนงานโครงการพัฒนาตามผังเมืองรวมเมืองสารขันธ์ • การเพิ่มพื้นที่สีเขียว • ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินย่านพาณิชยกรรมและย่านอนุรักษ์ • ยกระดับคุณภาพชีวิตในย่านที่อยู่อาศัย ที่มา: กลุ่มจัดและวิเคราะห์โครงการ และกองผังเมืองเฉพาะ

  25. ข้อเสนอแนะที่จำเป็นเพื่อใช้เป็นแนวทางการปรับปรุงการวางผังเมืองรวมรูปแบบใหม่ สร้างความเข้าใจ ผังรูปแบบใหม่ สร้างองค์ความรู้ พัฒนาทักษะ พัฒนาระบบฐานข้อมูล พัฒนามาตรฐาน ผังเมือง ปรับองค์ประกอบผัง ประสานหน่วยงาน ภายนอก ทบทวนการบริหารจัดการ ส่งเสริมและยกระดับการมีส่วนร่วม ประชาชน และสาธารณชน กระบวนงานและวิธีการวางผัง สร้างความรู้ ความเข้าใจการผังเมือง งานปรับปรุง ผังเมืองรวมรูปแบบใหม่ องค์กรที่รับผิดชอบการวางผัง บุคลากร ผู้วางผัง

  26. จบการนำเสนอ ขอบพระคุณ

More Related