270 likes | 519 Vues
การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและราคาไข่ไก่. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 7. วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย. เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตไข่ไก่ เพื่อพยากรณ์ราคาไข่ไก่. ขอบเขตของการศึกษาวิจัย. เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี สระบุรี และอ่างทอง ปี 2554
E N D
การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและราคาไข่ไก่การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและราคาไข่ไก่ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 7
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย • เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตไข่ไก่ • เพื่อพยากรณ์ราคาไข่ไก่
ขอบเขตของการศึกษาวิจัยขอบเขตของการศึกษาวิจัย • เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี สระบุรี และอ่างทอง ปี 2554 • ข้อมูลราคาเฉลี่ยรายเดือนของไข่ไก่ชนิดคละตั้งแต่ ปี 2540 – 2553
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลปฐมภูมิเป็นข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เกษตรกรตัวอย่าง • ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลราคาไข่ไก่ชนิดคละเฉลี่ยรายเดือนที่จัดเก็บโดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 7 ตั้งแต่ปี 2540ถึงปี 2553
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ต้นทุนการผลิตไข่ไก่ต่อฟอง ต้นทุนการผลิตทั้งหมดต่อไข่ 1 ฟอง = ต้นทุนการผลิตทั้งหมด ปริมาณไข่ต่อแม่ต่อปี (ฟอง) ต้นทุนผันแปรต่อไข่ 1 ฟอง = ต้นทุนผันแปร ปริมาณไข่ต่อแม่ต่อปี (ฟอง)
การพยากรณ์ราคาไข่ไก่โดยวิธีการของ Box and Jenkins • ทดสอบความนิ่งของข้อมูล โดยการทดสอบ Unit Root • กำหนดรูปแบบจำลอง ARIMA (p, d, q) โดยพิจารณาคอเรลโลแกรม • ประมาณค่าพารามิเตอร์ เพื่อนำค่าพารามิเตอร์ที่ได้ไปพยากรณ์ราคา • ตรวจสอบความถูกต้อง • ทำการพยากรณ์
ราคาไข่ไก่ชนิดคละจังหวัดสุพรรณบุรี มีทั้งแนวโน้มและฤดูกาล
การทดสอบ Unit Root รูปแบบ intercept ผลการทดสอบ series egg ยังไม่ stationary
การทดสอบ Unit Root รูปแบบ intercept and trend ผลการทดสอบ series egg ยังไม่ stationary
การทดสอบ Unit Root รูปแบบ None ผลการทดสอบ series egg ยังไม่ stationary
สร้างตัวแปร z หาผลต่างปกติ ผลต่างฤดูกาล และใส่ Log
การทดสอบ Unit Root รูปแบบ intercept ผลการทดสอบ series z Stationary แล้ว
การทดสอบ Unit Root รูปแบบ intercept and trend ผลการทดสอบ series z Stationary แล้ว
การทดสอบ Unit Root รูปแบบ None ผลการทดสอบ series z Stationary แล้ว
กำหนดรูปแบบโดยพิจารณาจาก Correlogram Partial Correlation (rkk)ลดลงเข้าใกล้ 0 ที่ k=4 (Regular คือ AR(3) Autocorrelation (rk) =0 ที่ k=24 (Season คือ SMA(1)12
ตรวจสอบความคลาดเคลื่อน แบบ intercept ผลการทดสอบ แบบ interceptresid01 ไม่มี unit root
ตรวจสอบความคลาดเคลื่อนแบบ intercept & trend ผลการทดสอบ แบบ interceptand trend Resid01 ไม่มี unit root
ตรวจสอบความคลาดเคลื่อนแบบ none ผลการทดสอบ แบบ none Resid01 ไม่มี unit root
รูปแบบสมการ = (0.064896 + 0.065827 – 0.191895 – 0.922395)
พยากรณ์แบบ static เพื่อหาค่าดัชนีวัดแบบจำลอง
พยากรณ์ย้อนหลัง 1 ปี เพื่อเทียบกับค่าจริง
พยากรณ์ย้อนหลัง 6 เดือน เพื่อเทียบกับค่าจริง
ค่าพยากรณ์ 6 เดือน เทียบกับค่าจริง
ค่าพยากรณ์จริง 6 เดือน (2554:01 2554:06)