html5-img
1 / 69

ระบบสวัสดิการ การรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น

ระบบสวัสดิการ การรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น ทิศทาง และโอกาส การเข้าถึงที่เท่าเทียม และเป็นธรรม. รังสรรค์ ศรีภิรมย์ สปสช. เขต 8 อุดรธานี 18 กุมภาพันธ์ 2557. ความเป็นมา. ตามนโยบายข้อ 1.14 ของรัฐบาล ที่ประกาศเรื่องระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย :.

nicki
Télécharger la présentation

ระบบสวัสดิการ การรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบสวัสดิการ การรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น ทิศทาง และโอกาส การเข้าถึงที่เท่าเทียม และเป็นธรรม • รังสรรค์ ศรีภิรมย์ • สปสช. เขต 8 อุดรธานี • 18 กุมภาพันธ์ 2557

  2. ความเป็นมา ตามนโยบายข้อ 1.14 ของรัฐบาล ที่ประกาศเรื่องระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย : • บูรณาการสิทธิของผู้ป่วยที่พึงได้รับจากระบบประกันสุขภาพต่างๆ ลดความเหลื่อมล้ำ พัฒนาคุณภาพประสิทธิภาพและบูรณาการแผนงานของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน ผ่านกลไกของหน่วยงานกลางซึ่งทำหน้าที่จัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายและระบบข้อมูลบริการสาธารณสุข (National Clearing House)

  3. กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลในปัจจุบันกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลในปัจจุบัน ประกันสุขภาพถ้วนหน้า สวัสดิการข้าราชการพลเรือน ประกันสังคม สวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น อื่น ๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ ครูเอกชน

  4. ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่นระบบเก่าระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่นระบบเก่า ผู้ป่วยใน รพ.ตั้งเบิก ตั้งงบประมาณค่ารักษา แต่ละแห่ง หน่วยบริการ ผู้ป่วยนอกจ่ายเงิน แล้วนำใบเสร็จไปเบิกคืน ผู้มีสิทธิ อปท.

  5. ปัญหา • ผู้มีสิทธิ เป็นภาระในการสำรองเงินจ่าย โดยเฉพาะโรคที่ต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง • ต้นสังกัด การตั้งงบประมาณไม่เพียงพอ สำหรับให้ผู้มีสิทธิเบิกคืน • หน่วยบริการสำหรับกรณีผู้ป่วยในใช้ใบรับรองสิทธิ ต้นสังกัดไม่มีงบประมาณเพียงพอ ทำให้หน่วยบริการเบิกคืนไม่ได้ ส่งผลต่อสภาพคล่องของหน่วยบริการ

  6. ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่นระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น จ่ายชดเชย ตั้งงบประมาณค่ารักษาทั่วประเทศ (4,061.95 ล้านบาท) หน่วยบริการ ไม่ต้องสำรองจ่าย เรียกเก็บ Clearing ผู้มีสิทธิ อปท.

  7. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินสวัสดิการรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2541 • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมายถึง • องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) • เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล • องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)

  8. นิยามที่เกี่ยวข้อง • ผู้มีสิทธิ หมายถึง • ข้าราชการ • ข้าราชการการเมือง (นายกเทศมนตรี นายก อบจ. และ นายก อบต.) • พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้างประจำ • ข้าราชการครูที่รับถ่ายโอน ครูผู้แลเด็กหรือครูผู้ช่วยเฉพาะกรณีที่เป็นลูกจ้างประจำที่ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง • ยกเว้นกรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา

  9. นิยามที่เกี่ยวข้อง • ผู้มีสิทธิร่วม หมายถึง • บิดา มารดา • คู่สมรส • บุตร • บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย • ลำดับที่ 1 – 3 ของผู้มีสิทธิ ยกเว้นหากบุตรในลำดับที่ 3 เป็นแฝด ให้มีสิทธิได้ครบทุกคนในการคลอดครั้งนั้น • ยังไม่บรรลุนิติภาวะ • กรณีบุตรเกิน 3 คน บุตรลำดับที่ 1-3 เสียชีวิตก่อนบรรลุนิติภาวะให้เลื่อนบุตรลำดับถัดไปขึ้นมา

  10. นิยามที่เกี่ยวข้อง • ผู้หมดสิทธิ หมายถึง ข้าราชการ, ข้าราชการการเมือง พนักงานเทศบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น และลูกจ้างประจำ ที่ออกจากราชการ ถูกพักราชการ หรือย้ายหน่วยงานทุกกรณี ซึ่งรวมถึงการเสียชีวิต การหย่าร้าง หรือการบรรลุนิติภาวะ ผู้มีสิทธิร่วมของบุคคลดังกล่าวด้วย • หน่วยเบิก หมายถึง องค์การบริการส่วนจังหวัด เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล ยกเว้นกรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา • นายทะเบียน หมายถึง บุคลากรที่ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ได้รับการพิจารณาจากต้นสังกัดให้ทำหน้าที่เป็นนายทะเบียน และได้รับการแต่งตั้งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  11. นิยามที่เกี่ยวข้อง • ค่ารักษาพยาบาล หมายถึง • ค่ายา ค่าเลือดและส่วนประกอบของเลือด หรือสารทดแทน ค่าน้ำยาหรืออาหาร • ค่าอวัยวะเทียม อุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรครวมทั้งค่าซ่อมแซม • ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าตรวจวิเคราะห์โรค ไม่รวมค่าพยาบาลพิเศษ ค่าธรรมเนียมพิเศษ หรือค่าตอบแทนพิเศษ • ค่าห้อง ค่าอาหารตลอดเวลาที่เข้ารับการรักษาพยาบาล • ค่าตรวจสุขภาพประจำปี

  12. ประเด็นที่ควรรู้เกี่ยวกับสิทธิประเด็นที่ควรรู้เกี่ยวกับสิทธิ • การลงทะเบียนสิทธิ • การใช้สิทธิเมื่อเข้ารับบริการ • การหมดสิทธิ

  13. นายทะเบียน • นายทะเบียนบุคลากร มีหน้าที่ปรับปรุง เพิ่มเติม ทะเบียนข้อมูลผู้มีสิทธิในสังกัด • ผู้รับรองการมีสิทธิ มีหน้าที่ตรวจสอบ และรับรองข้อมูลผู้มีสิทธิในสังกัด • นายทะเบียนการเงิน มีหน้าที่แจ้งคำร้องขอเบิกค่ารักษา ในกรณีที่ผู้มีสิทธิสำรองจ่าย

  14. ขั้นตอนการลงทะเบียนผู้มีสิทธิขั้นตอนการลงทะเบียนผู้มีสิทธิ นำหลักฐานยื่นต่อนายทะเบียนหน่วยเบิก ตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ของหลักฐาน เมื่อบันทึกผ่านเรียบร้อย เว็บลงทะเบียนอปท. ระบบประมวลผล 11.00 และ 15.00 ของทุกวัน หน่วยบริการจะเห็นข้อมูล ปรากฎบนเว็บไซต์สปสช.

  15. รายงานผลการลงทะเบียนสิทธิ อปท.แยกรายเขตณ 17 กุมภาพันธ์ 2557

  16. รายงานผลการลงทะเบียนสิทธิ อปท.แยกรายจังหวัดสปสช. เขต 7 ขอนแก่น ณ 17 กุมภาพันธ์ 2557

  17. รายงานผลการลงทะเบียนสิทธิ อปท.แยกรายจังหวัดสปสช. เขต 8 อุดรธานี ณ 17 กุมภาพันธ์ 2557

  18. ผู้มีสิทธิทั้งหมดมีเท่าไรผู้มีสิทธิทั้งหมดมีเท่าไร ได้รับการลงทะเบียนหมดแล้วหรือยัง

  19. เข้าใช้งานโดยไปที่ www.nhso.go.th เลือกบริการออนไลน์

  20. โปรแกรมจะอยู่ที่ หมวดงานทะเบียน เลือก หัวข้องานลงทะเบียนของอปท.

  21. หน้าจอการเข้าใช้งานของนายทะเบียนหน้าจอการเข้าใช้งานของนายทะเบียน

  22. การบันทึกข้อมูลผู้มีสิทธิรายใหม่การบันทึกข้อมูลผู้มีสิทธิรายใหม่ • พนักงานบรรจุใหม่ • รับโอนจากข้าราชการ • รับย้ายจาก อปท. แห่งอื่น • นายกได้รับเลือกตั้งใหม่ • ยังไม่บันทึกข้อมูล

  23. การบันทึกข้อมูลผู้มีสิทธิ และผู้ใช้สิทธิร่วม

  24. การแก้ไขข้อมูลผู้มีสิทธิการแก้ไขข้อมูลผู้มีสิทธิ • แก้ไขข้อมูลทั่วไป • ประเภทบุคลากร • วันเริ่มปฏิบัติหน้าที่ • ศาสนา • เพิ่มข้อมูลผู้มีสิทธิร่วม

  25. การแก้ไขข้อมูลผู้มีสิทธิเพิ่มผู้มีสิทธิร่วมการแก้ไขข้อมูลผู้มีสิทธิเพิ่มผู้มีสิทธิร่วม 1 2 3 ถ้ามองไม่เห็นปุ่มแก้ไขให้กดแป้น Ctrl และเครื่องหมาย ลบ พร้อมกัน

  26. การแก้ไขข้อมูลผู้มีสิทธิเพิ่มผู้มีสิทธิร่วมการแก้ไขข้อมูลผู้มีสิทธิเพิ่มผู้มีสิทธิร่วม

  27. การหมดสิทธิ ผู้มีสิทธิร่วม ผู้มีสิทธิ • ย้ายหน่วยงาน • ออกจากราชการ • หมดวาระทุกกรณี (นายก) • เกษียณอายุ (รับบำเหน็จ) • เสียชีวิตทุกกรณี • พักราชการ • อื่น ๆ • เสียชีวิตทุกกรณี • บรรลุนิติภาวะ • สมรส(อายุไม่เกิน 20 ปี) • อายุ 20 ปีบริบูรณ์ • การหย่าจากผู้มีสิทธิ • อื่น ๆ

  28. การหมดสิทธิรักษาพยาบาลการหมดสิทธิรักษาพยาบาล • นายทะเบียนของหน่วยเบิกจะต้องทำการปรับปรุงข้อมูลของผู้หมดสิทธิของหน่วยงาน ข้อมูลที่แจ้งจะได้รับการประมวลผลภายในวันนั้นเช่นเดียวกับข้อมูลผู้มีสิทธิรายใหม่ • สำหรับการหมดสิทธิกรณีบุตรบรรลุนิติภาวะ สปสช.จะทำการตรวจสอบและปรับปรุงให้หมดสิทธิโดยอัตโนมัติทุกเดือน หากข้อมูลนั้นยังไม่ได้รับการปรับปรุง • ในกรณีที่เจ้าของสิทธิหมดสิทธิการรักษาพยาบาลจากระบบแล้ว สปสช.จะทำการตรวจสอบและปรับปรุงให้ผู้มีสิทธิร่วมหมดสิทธิไปพร้อมกันโดยอัตโนมัติ

  29. ขั้นตอนการบันทึกข้อมูลผู้หมดสิทธิขั้นตอนการบันทึกข้อมูลผู้หมดสิทธิ 2 1 4 3

  30. ขั้นตอนการบันทึกข้อมูลผู้หมดสิทธิขั้นตอนการบันทึกข้อมูลผู้หมดสิทธิ 1 2 3 4

  31. ข้อควรระวัง • เมื่อแจ้งหมดสิทธิแล้วจะไม่สามารถใช้สิทธิเบิกจ่ายตรงได้ทันที • กรณีแจ้งหมดสิทธิ กรณีย้ายหน่วยงาน จะไม่สามารถใช้สิทธิได้จนกว่า หน่วยงานใหม่จะบันทึกข้อมูล และผ่านการประมวลผลตามรอบ

  32. การใช้สิทธิเมื่อเข้ารับการรักษาการใช้สิทธิเมื่อเข้ารับการรักษา

  33. ขั้นตอนการรับบริการสิทธิ อปท. ของโรงพยาบาล ไม่พบข้อมูล พบข้อมูลลงทะเบียน ลงทะเบียนจ่ายตรง รออนุมัติ ทุกวันที่ 4,19 ตรวจสอบสิทธิ ตรวจสอบการลงทะเบียนจ่ายตรงของหน่วยบริการ ไม่พบข้อมูลจ่ายตรง และเจ็บป่วยฉุกเฉิน ไม่พบข้อมูล พบข้อมูลอนุมัติ ประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยใน ขอเลขอนุมัติ ผู้ป่วยนอก สำรองเงิน รับบริการ

  34. กรณีที่ไม่พบข้อมูลลงทะเบียนกรณีที่ไม่พบข้อมูลลงทะเบียน กรณีที่ไม่พบข้อมูลลงทะเบียน เมื่อเข้ารับบริการ แล้วมีการสำรองจ่าย นายทะเบียนต้องบันทึกข้อมูลลงทะเบียนสิทธิ ก่อนการบันทึกคำร้องขอเบิกเงินที่รองจ่าย

  35. การลงทะเบียนจ่ายตรง (สแกนลายนิ้วมือ) • ต้องการใช้บริการที่โรงพยาบาลไหนให้ไปสแกนไว้ก่อน • สามารถไปลงทะเบียนจ่ายตรงได้หลายโรงพยาบาล • เดิม เมื่อลงทะเบียนจ่ายตรงแล้วสามารถใช้สิทธิได้ทันที • ใหม่ เมื่อลงทะเบียนจ่ายตรง จะอนุมัติทุกวันที่ 4,19 เริ่ม 4 ม.ค. 57 ดังนี้ • ลงทะเบียนไว้ตั้งแต่วันที่ 19 ถึงวันที่ 3 ของเดือนถัดไป จะใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 4 เป็นต้นไป • ลงทะเบียนไว้ตั้งแต่วันที่ 4 ถึงวันที่ 18 จะใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 19 เป็นต้นไป

  36. หลักฐานในการขอสิทธิเบิกจ่ายตรงหลักฐานในการขอสิทธิเบิกจ่ายตรง 2.1 กรณีผู้ใหญ่และเด็กอายุ >7 ปี สามารถเข้ารับการรักษาในรพ.ของรัฐโดยไม่ต้องสำรองจ่าย หากมีข้อมูลในฐานทะเบียนสิทธิอปท.แล้วเท่านั้น โดยครั้งแรกที่มารับ บริการ ให้นำบัตรปชช.มาสมัครเพื่อลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง และทำการสแกนลายพิมพ์นิ้วมือ เมื่อผ่านการ อนุมัติ ก็สามารถใช้สิทธิจ่ายตรงในวันนั้น 2.2 กรณีของเด็กอายุต่ำกว่า 7 ปี ให้ใช้สูติบัตรหรือบัตรสุขภาพเด็กที่รพ.ออกให้ เพื่อทำ เรื่องขอลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง และทำการสแกนลายพิมพ์ นิ้วมือ เมื่อผ่านการอนุมัติ ก็สามารถใช้สิทธิจ่ายตรงใน วันนั้นเช่นเดียวกับ 2.1 ในกรณีที่ไม่สามารถสแกนลายพิมพ์นิ้วมือ ให้หน่วยบริการระบุเหตุผลประกอบการขอสิทธิเบิกจ่ายตรงเพื่อประกอบการพิจารณา

  37. โปรแกรมสำหรับลงทะเบียนจ่ายตรงและขอเลขอนุมัติNHSO Client

  38. กรณีสำรองเงินสดจ่ายก่อนและนำใบเสร็จมาเบิกเงินคืนกรณีสำรองเงินสดจ่ายก่อนและนำใบเสร็จมาเบิกเงินคืน • ให้ผู้มีสิทธินำเสร็จรับเงินที่ได้รับจากรพ.มาส่งให้นายทะเบียนหน่วยเบิก • นายทะเบียนการเงินจะต้องทำการบันทึกข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่ายเข้าสู่เว็บไซต์ สปสช.พร้อมสแกนใบเสร็จรับเงินเข้าสู่ระบบเพื่อรอการตรวจสอบ • แบบเบิกเงินสวัสดิการรักษาพยาบาลฯ (แบบ รบ.3)(เก็บไว้ไม่ต้องสแกน) • ใบเสร็จ พร้อมผู้มีสิทธิลงนามรับรอง “ข้าพเจ้ารับรองว่าได้สำรองจ่ายเงินเพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาลไปจริงทุกประการ” • สปสช.จะทำการประมวลผลจ่ายเงินคืนเดือนละครั้ง (ทุกวันที่ 15 ) • เมื่อได้รับเงินโอน นายทะเบียนการเงินจะต้องจัดระบบการจ่ายเงินคืนผู้มีสิทธิต่อไป

  39. โปรแกรมสำหรับขอเบิกค่ารักษา(สำหรับหน่วยงาน อปท.) 2 1 3 4 5 6 7 8 9 10

  40. โปรแกรมสำหรับขอเบิกค่ารักษาโปรแกรมสำหรับขอเบิกค่ารักษา 3 1 2

  41. 1

  42. การค้นหาข้อมูลรายการขอเบิกการค้นหาข้อมูลรายการขอเบิก ห้ามใส่อะไรเลย(โปรแกรมไม่สมบูรณ์) เลือกสถานะ สถานะข้อมูล อนุมัติผ่าน =ข้อมูลที่ตรวจสอบแล้วพบว่าตรงกับหลักเกณฑ์ เงื่อนไข สามารถจ่ายชดเชยได้ ไม่อนุมัติ =ข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ เช่น หน่วยบริการในใบเสร็จ ไม่ตรงกับข้อมูลที่บันทึกเข้าในระบบ

  43. เพื่อดูรายละเอียด เช่น สาเหตุไม่อนุมัติ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูล

  44. ข้อควรทราบ • สำหรับผู้ป่วยนอก ให้บันทึกข้อมูล ผู้ใช้สิทธิ 1 คนต่อ 1 วัน • ขอให้ตรวจสอบความถูกต้องทุกครั้งหลังจากบันทึกข้อมูลไปแล้ว เนื่องจาก เมื่อสถานะอนุมัติแล้ว จะไม่สามารถแก้ไข ลบข้อมูลได้

  45. การเปิดบัญชีใหม่เพื่อรองรับการโอนเงินคืนผู้มีสิทธิกรณีใบเสร็จการเปิดบัญชีใหม่เพื่อรองรับการโอนเงินคืนผู้มีสิทธิกรณีใบเสร็จ • บัญชีเดิมของอบต.ที่สปสช.เคยโอนเงินกองทุน PP ให้อบต.นั้น จะใช้ชื่อเป็น “กองทุนประกันสุขภาพตำบล” ไม่สามารถรับโอนเงินจากกองทุนนี้ได้ • ใช้บัญชีเงินบำรุงของ อปท. ที่มีอยู่ กำหนดให้เป็น ธกส. หรือ กรุงไทย เพื่อยกเว้นค่าธรรมเนียมการโอน • ชื่อบัญชีให้มีชื่อหน่วยงานตรงกัน • ให้หน่วยงานทุกแห่งส่งรายชื่อบัญชีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สาขาเขต เรียน ผู้อำนวยการ สปสช. เขต 8 อุดรธานี หรือ สปสช. เขต 7 ขอนแก่น เรื่อง ส่งรายละเอียดบัญชีเพื่อรับโอนเงินสวัสดิการรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น สิ่งที่ส่งมาด้วย สำเนาหน้าบัญชีพร้อมรับรองสำเนา

  46. การขอ Username สำหรับโปรแกรมลงทะเบียนสิทธิพนักงานส่วนท้องถิ่น (เฉพาะพื้นที่ สปสช.เขต 8 อุดรธานี)

  47. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานลงทะเบียน และเจ้าหน้าที่การเงิน สามารถดำเนินการบันทึกข้อมูลได้ทันเวลา เป็นปัจจุบัน • แก้ปัญหากรณีลืมรหัสผ่าน สำหรับเข้าใช้งาน • เป็นช่องทางในการติดต่อสอบถาม แก้ไขปัญหา เกี่ยวกับรหัสผู้ใช้งาน

  48. ขั้นตอน • เข้าไปที่เว็บ http://udonthani.nhso.go.th • คลิกเมนู • อ่านคำแนะนำให้ครบถ้วน • ทำตามขั้นตอนโดยเคร่งครัด โดยเฉพาะการแนบไฟล์

More Related