1 / 44

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Data Communication and Networks. การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์. บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย. อาจารย์ผู้สอน : ดร.วีรพันธุ์ ศิ ริฤทธิ์. E-Mail : siririth @ gmail.com. Data Communication and Networks. มาตรฐานเครือข่ายแลน.

niel
Télécharger la présentation

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Data Communication and Networks การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย อาจารย์ผู้สอน : ดร.วีรพันธุ์ ศิริฤทธิ์ E-Mail : siririth @ gmail.com

  2. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน 1. ประวัติอีเทอร์เน็ต(Ethernet) บ็อบ เม็ทคาลเฟ(Bob Metcalfe) .

  3. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน 1. อีเทอร์เน็ต(Ethernet) . อีเทอร์เน็ต(Ethernet) ?

  4. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน เทคนิคในการส่งข้อมูล CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection) มาตรฐานเครือข่ายอีเทอร์เน็ต IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) IEEE 802.3 ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) 100 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ฟาสต์อีเทอร์เน็ต(Fast Ethernet) 1000 กิกะบิตต่อวินาที (Gbps) กิกะบิตอีเทอร์เน็ต(Gigabit Ethernet) .

  5. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน รหัสใช้แยกแยะมาตรฐานอีเทอร์เน็ต 10Base5, 10Base2, 10BaseT ความเร็ว เป็นตัวบอกความเร็วสูงสุดที่ระบบทำได้ เช่น 10, 100, 1000, 10000 Mbps .

  6. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน วิธีส่งสัญญาณ - Baseband คือ การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล - Broadband คือ การส่งสัญญาณแบบแอนะล็อก สายที่ใช้ 5(IEE 802.3)หมายถึง สาย Thick coaxial เป็นสายโคแอกเชียลชนิดหนา ยาวไม่เกิด 500 เมตร ต่อ 1 เซกเมนต์(Segment) หรือ 1 เครือข่าย ซึ่งจะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Transceiver เป็นตัวเชื่อมไปสู่การ์ดแลนโดย ใช้สาย AUI อีกที่หนึ่ง ในปัจจุบันเลิกแล้ว เรียกมาตรฐานที่ใช้สาย Thick coaxial นี้ว่า 10Base5 .

  7. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน 2(IEEE802.3)หมายถึง สาย Thin coaxial เป็นสารโคแอกเชียลชนิดบาง ขนาดจะเล็ก กว่าสาย Thick coaxial ใช้วิธีต่อตรงเข้ากับการ์ดแลนโดยไม่ต้องใช้ Transceiver มีความ ยาวไม่เกิน 185 เมตร ต่อ 1 เซกเมนต์ และต้องมีระยะห่างระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละ เครื่องไม่ต่ำกว่า 0.5 เมตร เรียกมาตรฐานที่ใช้สาย Thin coaxial นี้ว่า 10Base2ปัจจุบัน เครือข่ายแบบนี้ไม่นิยมใช้แล้ว Fหมายถึง สายใยแก้วนำแสงหรือไฟเบอร์ออปติก มักเชื่อมโยงระหว่างอาคารหรือใช้ เป็นแกนหลักของระบบ สามารถทนต่อสัญญาณรบกวนได้เป็นอย่างดี เรียกมาตรฐาน นี้ว่า 100BaseFX .

  8. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน T (IEEE802.3) หมายถึง สายประเภท Twisted-Pair ใช้เชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ กับฮับหรือสวิตช์ แต่เดิมนั้นใช้สาย UTP (Unshielded twisted pair)ชนิด CAT3 หรือ CAT4 มีความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาที่ เมื่อได้รับการพัฒนาให้มีความเร็ว 100 เมกะบิตต่อ วินาที จึงต้องใช้สาย UTP ชนิด CAT5 หรือ CAT5e และฮับหรือสวิตช์จะต้องรองรับ ความเร็ว100 เมกะบิตต่อวินาที ระบบเครือข่ายแลนในปัจจุบันจะใช้มาตรฐานนี้เป็นหลัก เราเรียกมาตรฐานที่ใช้สาย UTP นี้ว่า 10BaseT, 100BaseTX (T ใช้สาย UTP CAT3 ส่วน TX ใช้สาย UTP CAT5) ส่วนสาย UTP จะมีความยาวจากฮับหรือสวิตช์มายัง คอมพิวเตอร์ ไม่เกินเส้นละ 100 เมตร .

  9. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน 2. โทเค็นริง(Token Ring) . โทเค็นริง(Token Ring) ?

  10. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน มาตรฐานเครือข่ายอีเทอร์เน็ต IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) IEEE 802.5 หรือ โทเค็นริง (Token Ring) ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 4 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) และ 16 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) วิธีส่งสัญญาณ โทเคน (Token) สายที่ใช้ STP, UTP, Coaxial และ Fiber Optic .

  11. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน 3. โทเค็นบัส (Token Bus) . โทเค็นบัส (Token Bus) ?

  12. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน มาตรฐานเครือข่ายอีเทอร์เน็ต IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) IEEE 802.4 หรือ โทเค็นบัส (Token Bus) ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 4 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) และ 16 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) วิธีส่งสัญญาณ โทเคน (Token) สายที่ใช้ STP, UTP, Coaxial และ Fiber Optic .

  13. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน 4. FDDI (Fiber Distributed Data Interface) . FDDI (Fiber Distributed Data Interface)?

  14. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน มาตรฐานเครือข่ายอีเทอร์เน็ต ANSI (American National Standards Institute) ISO (International Standard Organization) ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 100 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) สายที่ใช้ Fiber Optic .

  15. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน 5. Isochronous Networks ใช้เทคโนโลยี ISDN (Integrated Services Digital Network) Isochronous LAN ISLAN (Integrated Services LAN) มาตรฐานเครือข่ายอีเทอร์เน็ต IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) IEEE 802.9 . Isochronous Networks ?

  16. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน 6. Wireless Land . Wireless Network ?

  17. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน วิธีส่งสัญญาณ CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access with Collision Avoidance) มาตรฐานเครือข่ายอีเทอร์เน็ต IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) IEEE 802.11b สามารถส่งข้อมูลได้ 11 เมกะบิตต่อวินาที ความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) รัศมีคลื่นวิทยุประมาณ 100 เมตรในพื้นที่โล่ง .

  18. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน IEEE 802.11g สามารถส่งข้อมูลได้ 54 เมกะบิตต่อวินาที ความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) รัศมีคลื่นวิทยุประมาณ 50 เมตรในพื้นที่โล่ง IEEE 802.11a สามารถส่งข้อมูลได้ 54 เมกะบิตต่อวินาที ความถี่ 5 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) รัศมีคลื่นวิทยุประมาณ 50 เมตรในพื้นที่โล่ง .

  19. Data Communication and Networks มาตรฐานเครือข่ายแลน Wireless Network Connection - Ad-Hoc - Infrastructure .

  20. Data Communication and Networks ชนิดของการทำงานระบบเครือข่ายแลน 1. Peer to Peer . Peer to Peer ?

  21. Data Communication and Networks ชนิดของการทำงานระบบเครือข่ายแลน 1. Peer to Peer 1.1 Pure Peer-to-Peer 1.2 Hybrid Peer-to-Peer 1.3 Super-Peer .

  22. Data Communication and Networks ชนิดของการทำงานระบบเครือข่ายแลน ข้อดีและข้อเสียPeer to Peer .

  23. Data Communication and Networks ชนิดของการทำงานระบบเครือข่ายแลน 1. ทรัพยากร 2. โปรแกรมการใช้งาน 3. สมรรถนะ 4. การติดตั้ง 5. การบริหารระบบ 6. ระบบรักษาความปลอดภัย 7. ค่าใช้จ่าย 8. คุณสมบัติขั้นสูง 9. การขยายระบบ .

  24. Data Communication and Networks ชนิดของการทำงานระบบเครือข่ายแลน 2. Client / Server . Client / Server ?

  25. Data Communication and Networks ชนิดของการทำงานระบบเครือข่ายแลน ข้อดีและข้อเสียClient / Server .

  26. Data Communication and Networks ชนิดของการทำงานระบบเครือข่ายแลน 1. ประสิทธิภาพ 2. บริการ 3. โปรแกรม 4. ขนาด 5. การบริหารระบบ 6. ระบบการรักษาความปลอดภัย 7. การขยายระบบ 8. การดูแลซ่อมแซม .

  27. Data Communication and Networks Protocol : โปรโตคอล 1. NetBEUI (NetBIOS Extended User) เป็นโปรโตคอลที่ใช้ได้ดีบนระบบเครือข่ายขนาดเล็กหรือเวิร์กกรุ๊ป ใช้งานง่ายและไม่ ซับซ้อนนิยมใช้ในระบบปฏิบัติการรุ่นเก่าอย่าง Windows for workgroup 3.11 2. IPX/SPX (Internetwork Packet Exchange/Sequenced Packet Exchange) เป็นโปรโตคอลที่ใช้บนระบบปฏิบัติการ Netware ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการของ บ. Novell ถึงแม้โปรโตคอล IPX/SPX จะมีความสามารถในการหาเส้นทางได้ แต่ก็ยังเป็น รอง TCP/IP . Protocol : โปรโตคอล?

  28. Data Communication and Networks Protocol : โปรโตคอล 3. TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นโปโตคอลที่ใช้กันมากที่สุดในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต โปรโตคอล TCP/IP จะแบ่งข้อมูลของคอมพิวเตอร์ต้นทางออกเป็นขนาดย่อยๆ เรียกว่าแพ็คเกจ เพื่อ ทยอยส่งไปตามเส้นทางในระบบเครือข่ายจนถึงคอมพิวเตอร์ปลายทาง 4. UDP (User Datagram Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ไม่รับประกันความถูกต้อง ไม่มีการตอบกลับ มักถูกนำมาใช้ในงาน ด้านมัลติมีเดีย .

  29. Data Communication and Networks Protocol : โปรโตคอล 5. ARP (Address Resolution Protocol) เป็นโปรโตคอลที่แปลงไอพีแอดเดรสเป็นหมายเลขประจำฮาร์ดแวร์หรือที่เรียกว่าแมค แอดเดรส (MAC Address) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ต้นทางสามารถทราบหมายเลขแมค แอดเดรสปลายทางได้ ทำให้ตรวจสอบได้ว่าจุดหมายปลายทางได้ 6. RARP (Reverse Address Resolution Protocol) จะทำงานตรงข้ามกับโปรโตคอล ARP คือจะแปลงหมายเลขแมคแอดเดรสไปเป็นไอพี 7. HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ใช้ส่งข้อมูลประเภทเว็บเพจที่อยู่บน web Server มาให้คอมพิวเตอร์ที่ ร้องขอข้อมูลผ่านทางโปรแกรมประเภทเบราเซอร์ .

  30. Data Communication and Networks Protocol : โปรโตคอล 8. SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) เป็นโปรโตคอลสำหรับการส่งอีเมลจากเครื่องของผู้ใช้ไปยัง Mail Server ตามที่อยู่ระบุ 9. POP3 (Post Office Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ใช้โหลดอีเมลจาก Mail Server มายังคอมพิวเตอร์ของเรา และลบอีเมล ที่อยู่บน Mail Server ทิ้งไป 10. IMAP (Internet Message Access Protocol) เป็นโปรโตคอลอีกตัวหนึ่งซึ่งมีประสิทธิภาพและใช้งานได้หลากหลายกว่า POP3 ซึ่ง จุดเด่นของ IMAP คือเก็บสำเนาอีเมลไว้บน Mail Server โดยไม่ได้ลบทิ้งเหมือน POP3 .

  31. Data Communication and Networks Protocol : โปรโตคอล 11. FTP (File Transfer Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ใช้รับส่งไฟล์ระหว่างคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ที่เป็น FTP Server 12. DNS (Domain Name System) เป็นโปรโตคอลสำหรับแปลงชื่อโดเมนให้เป็นไอพีแอดเดรส 13. ICMP (Internet Control Message Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ใช้แจ้งข้อผิดพลาดที่เกิดจากปัญหาการส่งถ่ายข้อมูลหรือแพ็คเกจ .

  32. Data Communication and Networks Protocol : โปรโตคอล 14. SNMP (Simple Network Management Protocol) เป็นโปรโตคอลสำหรับตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย 15. Telnet (Telecommunication Network) เป็นโปรโตคอลที่ใช้สำหรับการล็อกอินเพื่อเชื่อมต่อเข้ามาในเซิร์ฟเวอร์จากระยะไกล .

  33. Data Communication and Networks Open Systems Interconnection : OSI Model .

  34. Data Communication and Networks Open Systems Interconnection : OSI Model หน้าที่ของแต่ละ Layer Layer7, Application Layer เป็นชั้นที่อยู่บนสุดของขบวนการรับส่งข้อมูล ทำหน้าที่ ติดต่อกับผู้ใช้ โดยจะรับคำสั่งต่างๆจากผู้ใช้ส่งให้คอมพิวเตอร์แปลความหมาย และทำงาน ตามคำสั่งที่ได้รับในระดับโปรแกรมประยุกต์ เช่น เบราเซอร์ Layer6, Presentation Layer เป็นระดับที่เกี่ยวกับตัวข้อมูลโดยตรง จะทำหน้าที่แปลง ข้อมูลจากระดับแอปพลิเคชั่นให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อส่งออกไปยังฝ่ายรับได้อย่าง ถูกต้อง ข้อมูลที่ส่งไปมีความหมายอย่างไร ฝ่ายรับต้องได้รับข้อมูลที่มีความหมายอย่าง เดียวกัน .

  35. Data Communication and Networks Open Systems Interconnection : OSI Model Layer5, Session Layerเป็นระดับชั้นที่รับผิดชอบการเริ่มต้นและสิ้นสุดการเชื่อมต่อ ระหว่างต้นทางกับปลายทางผ่านระบบเครือข่าย รวมทั้งดูแลเกี่ยวกับวิธีการส่งข้อมูล ได้แก่ Simplex, Half Duplex, Full Duplex Layer4, Transport Layerทำหน้ารับผิดชอบในกานส่งข้อมูลจากต้นทางไปยัง ปลายทาง ซึ่งมีการรับประกันว่าข้อมูลจะถูกส่งถึงปลายทางโดยใช้การตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูล หากเกิดการผิดพลาดระหว่างการส่งข้อมูล ก็จะมีการส่งข้อมูลใหม่ Layer3, Network Layerทำหน้าที่หลักที่เกี่ยวข้องกับการหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการ ส่งข้อมูลไปยังปลายทาง คือตัดสินใจว่าเส้นทางใดควรใช้ส่งข้อมูล ซึ่งขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมของระบบเครือข่าย อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายที่ทำงานในระดับนี้ .

  36. Data Communication and Networks Open Systems Interconnection : OSI Model Layer2, Data Link Layerมีหน้าที่เกี่ยวกับการรวมข้อมูลเป็นเฟรม รวมถึงควบคุมการ ไหลของข้อมูล คอยตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูลในระหว่าการรับส่ง อีกทั้งยังทำ หน้าที่เรียกใช้ช่องทางในการส่งข้อมูลที่ถูกต้อง เช่น Ethernet, Token Ring Layer1, Physical Layerรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับรายละเอียดการส่งข้อมูลในลักษณะ สัญญาณทางไฟฟ้าและทางกายภาพของการเชื่อมต่อ .

  37. Data Communication and Networks Open Systems Interconnection : OSI Model แสดงการส่งข้อมูลผ่านระหว่างชั้น .

  38. Data Communication and Networks Open Systems Interconnection : OSI Model แสดงหน้าที่ของแต่ละ Layer ในการทำงาน .

  39. Data Communication and Networks Open Systems Interconnection : OSI Model แสดงความสัมพันธ์ของ Layer กับ Protocol ต่าง ๆ .

  40. Data Communication and Networks Transmission Control Protocol/Internet Protocol : TCP/IP Model . .

  41. Data Communication and Networks Transmission Control Protocol/Internet Protocol : TCP/IP Model หน้าที่ของแต่ละ Layer Layer4, Application Layerเป็นระดับที่ประยุกต์ใช้งานจริง โปรโตคอลที่ทำงานบน ระดับนี้ ได้แก่ HTTP, SMTP, POP, IMAP, FTP ฯลฯ ระดับนี้เทียบได้กับ OSI Model ที่ ระดับ 5, 6, 7 Layer3, Transport Layerทำหน้าที่ควบคุมและจัดส่งข้อมูลระหว่างต้นทางกับ ปลายทาง พร้อมทั้งรักษากระบวนการเชื่อมต่อโปรโตคอลที่ทำงานในชั้นนี้คือ TCP กับ UDP ระดับนี้เทียบได้กับระดับที่ 4 ของ OSI Model Layer2, Internet Layerทำหน้าที่เลือกเส้นทางการรับส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์ต่างๆ จนถึงปลายทาง โปรโตคอลในชั้นนี้คือ IP, ICMP เทียบได้กับระดับ 3 ของ OSI Model .

  42. Data Communication and Networks Transmission Control Protocol/Internet Protocol : TCP/IP Model หน้าที่ของแต่ละ Layer Layer1, Network Access Layer มีหน้าที่ควบคุมฮาร์ดแวร์สำหรับการรับส่งข้อมูล เช่น การ์ดเน็ตเวิร์กหรือการ์ดแลน ซึ่งเทียบได้กับระดับที่ 1 และ 2 ของ OSI Model .

  43. Data Communication and Networks Transmission Control Protocol/Internet Protocol : TCP/IP Model แสดงความสัมพันธ์ของ Layer กับ Protocol ต่าง ๆ .

  44. Data Communication and Networks OSI Model กับ TCP/IP Model . .

More Related