1 / 14

“ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา การติดเชื้อ เอช ไอวี/เอดส์”

“ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา การติดเชื้อ เอช ไอวี/เอดส์”. www.aidsstithai.org. กรอบแนวคิดการทำงาน. Condom. ARV. เชื่อมโยงผู้ทราบสถานะการติดเชื้อ สู่ระบบการป้องกันและดูแลรักษาที่เหมาะสม.

nikita
Télécharger la présentation

“ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา การติดเชื้อ เอช ไอวี/เอดส์”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์”“ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์” www.aidsstithai.org

  2. กรอบแนวคิดการทำงาน Condom ARV เชื่อมโยงผู้ทราบสถานะการติดเชื้อ สู่ระบบการป้องกันและดูแลรักษาที่เหมาะสม

  3. การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี โดยงานการป้องกันควบคุมดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปี 2556 - 2558

  4. ระบบบริการที่มีอยู่สำหรับกลุ่มที่มีความเสี่ยงระบบบริการที่มีอยู่สำหรับกลุ่มที่มีความเสี่ยง STI services: ระบบบัตรทอง • ข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการของกลุ่มเสี่ยง • การรับบริการข้ามเขตไม่ได้ • การบริการกระจุกตัวอยู่เฉพาะโรงพยาบาลจังหวัด • จำนวนการเข้าถึงบริการที่ลดลง, ความถี่ของการตรวจที่ลดลง ใน SW • ข้อจำกัดในเรื่องสถานบริการ • ความสนใจของพื้นที่ต่องานบริการโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • ขาดการให้บริการเชิงรุก • งบประมาณ PP เพื่อการให้บริการด้าน STI ไม่ชัดเจน ทำให้ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ • ความพร้อมของระบบบริการ : ไม่ friendly, ไม่มีความรู้ความชำนาญในประชากรกลุ่มเสี่ยง • ไม่มีรูปแบบบริการที่ชัดเจน VCT services • การเข้าถึงบริการที่ต้องมีการเชื่อมโยงจากบริการเชิงรุก • ผู้ให้บริการ ไม่รู้จักหรือต้องปรับทัศนคติการให้บริการกับกลุ่มที่มีความเสี่ยง • การส่งต่อ หรือระบบส่งต่อกรณี positive 2/3 ของ FSW เป็นผู้ถือบัตรทอง แต่ ปัญหาคือ 60%ของผู้ถือบัตรทองไม่สามารถใช้สิทธ์ในพื้นที่ที่อาศัยปัจจุบันหรือทำงานอยู่ เนื่องจากไม่ได้ทำงานอยู่ในภูมิลำเนา (UNFPA:2550)

  5. ปัญหาสำคัญของงานบริการ STI/PICT ด้านระบบบริการ • การเข้าถึงบริการที่ต้องมีการเชื่อมโยงจากบริการเชิงรุก • การจัดระบบที่ไม่ชัดเจนในหลายพื้นที่ • ผู้ให้บริการไม่รู้จักกลุ่มเป้าหมายหรือต้องปรับทัศนคติการให้บริการ • การส่งต่อหรือระบบส่งต่อกรณี positive • ยังมีความครอบคลุมต่ำในบางกลุ่มประชากร และ การเข้าถึงการดูแลรักษาที่ช้า ด้านงานคุณภาพบริการ • การให้บริการยังไม่ได้ครบตามมาตรฐานของ STI management • ขาดการคัดกรองโรคในผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงซึ่งยังไม่มีอาการ • ความครอบคลุมของบริการ PICT ยังต่ำ ด้านผู้รับบริการ • กลุ่มเสี่ยงไม่อยากไปรับบริการใกล้บ้าน • กลุ่มเสี่ยงยังไม่ตระหนักถึงการป้องกันโรค • กลุ่มเสี่ยงยังเข้าไม่ถึงอุปกรณ์ป้องก้นโรค

  6. แผนงานโครงการฯ โดยสำนักโรคเอดส์ฯ กรมควบคุมโรค การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวี โดยงานการป้องกันควบคุม ดูแลรักษาโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

  7. เป้าประสงค์ เพื่อให้ประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีลดความเสี่ยงและทราบสถานะการติดเชื้อ รวมทั้งได้รับการส่งต่อเข้าสู่ระบบการดูแลรักษาเอชไอวี/เอดส์ในผู้ที่มีผลเลือดบวก วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพในการส่งเสริมสุขภาพเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีโดยงานป้องกันควบคุมดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • เพื่อพัฒนาระบบบริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่รวมทั้งบริการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดเอชไอวี (PICT) • เพื่อคุณภาพงานบริการด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

  8. การปรึกษาเพื่อตรวจเลือดการปรึกษาเพื่อตรวจเลือด การดูแลรักษาโรค การป้องกันโรค • เป้าหมาย • ลดการกระจายโรค • ลดการป่วย การตายจากการตืดเชื้อเอชไอวี • เป้าหมาย • ในผู้ที่ผลเป็นลบ: ยังคงผลลบ • ในผู้ที่ผลเป็นบวก: ได้เข้าสู่การดูแลรักษาอย่างรวดเร็ว เป้าหมาย ลดจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ • แนวทางการดำเนินงาน • ปรับเปลี่ยน/ลดพฤติกรรมเสี่ยง • การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยอาสาสมัคร • การใช้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น • การให้ความรู้เรื่องเอดส์/STI เพื่อสร้างความตระหนัก • การให้การปรึกษาเบื้องต้นเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง • การสื่อสารเพื่อปรับเปลียนพฤติกรรม • ส่งเสริมการเข้าถึงบริการการปรึกษา/คัดกรองโรค • การบริการให้การปรึกษาเพื่อตรวจเลือดเอชไอวี • การตรวจคัดกรอง STI • แนวทางการดำเนินงาน • การเข้าถึงบริการในผู้ที่ยังไม่ทราบสถานะการติดเชื้อ • การจัดบริการให้การปรึกษาที่เป็นมิตร • การจัดบริการให้การปรึกษาและตรวจเลือดที่ทราบผลในวันเดียว • การตรวจคัดกรองและการดูแลรักษา STI • แนวทางการดำเนินงาน • การส่งเสริมสุขภาพ • การลดพฤติกรรมเสี่ยง (สารเสพติด ความเสี่ยงทางเพศ การใช้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น) • การเปิดเผยผลเลือดและการตรวจเลือดคู่นอน • ด้านจิตใจและสังคม • การติดตามสถานะการติดเชื้อเอชไอวี • การตรวจติดตามระดับ CD4 • การคัดกรองโรคร่วม • การป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส • การติดตามการกินยาต้านไวรัส รูปแบบการดำเนินงานที่บูรณาการงาน Prevention and Care การเชื่อมโยงระบบส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ

  9. ชุมชน หน่วยบริการสาธารณสุข การส่งเสริมสุขภาพ/ป้องกันโรค การดูแลรักษา ลดการกระจายโรค/ป่วย/ตาย ลดจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ ในผู้ที่ผลเป็นลบ: ยังคงผลลบ ±HIVnegative Prevention ±VCT +Care ±STI HIV+ prevention กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานโดย สสจ. การสร้างเครือข่ายระดับเขต

  10. Getting to Zero New HIV Infections Focus where most new infections occur... Geographic Focus: Population Groups: (Mode of Transmission) 6% 32% 70% of new HIV infections happen in 31 provinces 41% 10% 94% of new infections 11% 41%

  11. แผนการดำเนินงาน • การสนับสนุนงานบริการ • งบประมาณสนับสนุนงานคัดกรอง ดูแลรักษาโรคและตรวจเลือด HIV • ปรับปรุงและเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการ • การจัดให้มีบริการให้คำปรึกษาและบริการที่เป็นมิตรในงาน STI • บริการคัดกรอง STI และ HIV การให้คำปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • สร้างระบบการส่งต่อและเชื่อมโยงในหน่วยบริการ • การพัฒนางานบริการโดยใช้รูปแบบ STIQUAL • การเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรผู้ให้บริการ • พัฒนาหลักสูตรอบรมสำหรับผู้ให้บริการ ความเข้าใจในมาตรฐานการคัดกรองและรักษาโรค STI • อบรมทักษะการสื่อสารกับผู้มารับบริการ เจ้าของสถานบริการถึงความสำคัญของการคัดกรองโรค • ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

  12. โครงสร้างการทำงานและบทบาทหน้าที่โครงสร้างการทำงานและบทบาทหน้าที่ จัดทำแผนงาน พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนันสนุนด้านวิชาการ กรมควบคุมโรค สำนักโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ : กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนันสนุนด้านวิชาการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต สร้างกลไกขับเคลื่อน ติดตามการดำเนินงาน ประสานแผนงานกับงานอื่นๆ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จัดระบบบริการ ให้บริการที่มีคุณภาพ เชื่อมโยงงานที่เกี่ยวข้องในหน่วยบริการ หน่วยบริการ โรงพยาบาล รพสต.

  13. ผลที่คาดหวังจากการดำเนินงานผลที่คาดหวังจากการดำเนินงาน • บริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ได้มาตรฐานสำหรับผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ • บริการตรวจรักษาผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่ได้มาตรฐาน • การสนับสนุนการใช้ถุงยางอนามัยในทุกกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ • การให้สุขศึกษาและการปรึกษาเรื่องโรคและการป้องกันโรค STI/HIV • การให้บริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี เพื่อทราบสถานะและเข้าสู่ระบบบริการดูแลรักษาในผู้ทีมีผลเลือดบวก • เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบงานบริการด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • การพัฒนาคุณภาพงานบริการด้านการคัดกรอง ดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

More Related