1 / 149

เนื้อหาปลายภาค

เนื้อหาปลายภาค. 1. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผล - การอ้างเหตุผลแบบละข้อความ “เอนทีม”(บทที่8) - การอ้างเหตุผลแบบเชื่อมข้อความ “โซริเตส”(บทที่9) 2. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลด้วยแผนภูมิเวนน์ (บทที่ 7/...) 3. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลการนิรนัยด้วยสัญลักษณ์เบื้องต้น

Télécharger la présentation

เนื้อหาปลายภาค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เนื้อหาปลายภาค 1. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผล - การอ้างเหตุผลแบบละข้อความ “เอนทีม”(บทที่8) - การอ้างเหตุผลแบบเชื่อมข้อความ “โซริเตส”(บทที่9) 2. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลด้วยแผนภูมิเวนน์ (บทที่ 7/...) 3. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลการนิรนัยด้วยสัญลักษณ์เบื้องต้น ประโยคเหตุผลเชิงซ้อน(บทที่ 7/...) 4. อุภัยสัตย์(บทที่ 10) 5. การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลการอ้างเหตุผลแบบอุปนัย (บทที่11) 6. การอ้างเหตุผลบกพร่อง (บทที่12) 7. การคิดเชิงพุทธวิธี

  2. เหตุผลย่อ หรือเหตุผลแบบละข้อความ (Enthymeme) คือ 1. การให้เหตุผลโดยทิ้ง Proposition ไว้ข้อหนึ่ง 2. การให้เหตุผลโดยปล่อยให้เข้าใจอีกประโยคตรรกหนึ่งเอง 3. การให้เหตุผลโดยทิ้งอีกประโยคตรรกหนึ่งไว้เป็นปริศนา 4. รูปนิรนัย (Syllogism) ที่ขาดบทตั้งหรือข้อเสนอไป 1 ข้อ

  3. การสร้างช่วงความคิด (Syllogism) จากประโยคอ้างเหตุผลหรือ Argument ที่เป็น Enthymeme เหตุผลย่อ การสร้างข้อความในประโยคเหตุผลย่อ ให้ เป็นประโยคบอกเล่าข้อเท็จจริง (Proposition)ในแต่ละช่วงความคิด จะต้องสร้างให้เป็นประโยค A , E , I , O ประโยคใดประโยคหนึ่งคล้อยตามเนื้อความของ Argument นั้น ๆเช่น

  4. สรุปEnthymeme (เหตุผลย่อ) คือ รูปแบบของการใช้เหตุผลหรือการอ้างเหตุผลที่ใช้จริงในชีวิตประจำเป็นการอ้างเหตุผลที่ลดรูปหรือข้อความที่เข้าใจร่วมกันเอาไว้ เช่น - นโปเลียนก็ต้องตายเพราะเขาก็เป็นแค่คน (Argument) - เธอเป็นคนใต้จึงชอบกินสะตอ (Argument) - คนเราทุกวันนี้ไว้ใจกันไม่ค่อยได้ (Argument) - ผมพอแล้วครับผมรวยแล้ว (Argument)

  5. - ผมพอแล้วครับเพราะผมรวยแล้วครับพี่น้อง (Argument) มาจากรูป Syllogism ดังนี้ (ไม่โกงจริงรึ) 1. คนที่รวยแล้ว(ทุกคน)เป็นคนพอแล้ว 2. ผม.......เป็นคนรวยแล้ว . . . ผม.......เป็นคนพอแล้ว

  6. 1. ........................................................ (ข้อความที่ละไว้) 2. ข่าวลือบางอย่างไม่เป็นพื้นฐานของความจริง 3. . . . ข่าวลือบางอย่างไม่เป็นความรู้ เฉลย 1. พื้นฐานของความจริง (ทุกอย่าง) เป็นความรู้ 2. ความรู้ทุกอย่างเป็นพื้นฐานของความจริง คำตอบที่ 2. เพราะทำให้สมเหตุสมผล

  7. เหตุผลละข้อความมี 3 รูปแบบ (กำหนดจากเทอมที่ละไว้) 1. การละข้ออ้างเอก เช่น นโปเลียนก็ต้องตายเพราะเขาเป็นคน (Argument) ข้ออ้างที่ 1. คนทุกคนเป็นผู้ต้องตาย ข้ออ้างที่ 2. นโปเลียนเป็นคน ข้อสรุป 3.. . . นโปเลียนเป็นผู้ต้องตาย

  8. ละข้ออ้างเอก เช่น “เอ๋ไม่มีอะไรทำจึงโทรศัพท์คุยกับเพื่อน” (Argument) ข้ออ้างที่ละไว้ คือ 1. ................................................. คนไม่มีอะไรทำ เป็นคนคุยโทรศัพท์ (ทุกคน) 2. เอ๋เป็นคนไม่มีอะไรทำ 3. . . . เอ๋เป็นคนโทรศัพท์คุย

  9. 2. การละข้ออ้างโท เฒ่าแก่เฮงรวยอยู่แล้วเพราะใครก็ตามที่รู้จักประหยัดจะเป็นคนรวย 1. คนที่รู้จักประหยัดทุกคนเป็นคนรวย 2. เฒ่าแก่เฮงเป็นคนที่ประหยัด 3.. . .เฒ่าแก่เฮงเป็นคนรวย * ข้ออ้างที่ละไว้ คือ “เฒ่าแก่เฮงเป็นคนที่ประหยัด” เป็นข้ออ้างโท

  10. 3. การละข้อสรุป ข้อความที่มีอยู่ คือ ข้ออ้างเอก ==>ข้ออ้างโท Ex. เอาน๊ะยังไรก็ตามทุกคนล้วนแล้วแต่ก็มีเหตุผลกันทั้งนั้น (Argument) 1. คนทุกคนเป็นผู้มีเหตุผล 2. คุณ(ก็)เป็นคน(คนหนึ่ง) 3. . . . คุณ(ก็)เป็นผู้มีเหตุผล สมเหตุสมผล.....

  11. การละข้อสรุป ข้อความที่มีอยู่ คือ ข้ออ้างเอก ==>ข้ออ้างโท Ex. คนสวยทุกคนก็ต้องตาย คุณเองก็เหมือนกันแหละ (Argument) 1. คน(สวย)ทุกคนเป็นผู้ต้องตาย 2. คุณเป็นคน(สวยมั้ง) 3. . . . คุณเป็นผู้ต้องตาย สมเหตุสมผล

  12. การละข้อสรุป เช่น คนขยันย่อมจะไม่ลำบากเนาะ นิสิตเราบางคนก็ขยันนี่.. คนขยัน 1. คนขยันบางคนไม่เป็นคนลำบาก 2. นิสิตบางคนเป็นคนขยัน คนขยัน 3. . . . นิสิตบางคนไม่เป็นคนลำบาก 3. . . . สรุปไม่ได้ (คิดไม่ออก) ไม่สมเหตุสมผล

  13. ข้อความแบบละข้ออ้าง ชาเขียวดีที่สุด เพราะดื่มแล้วชื่นใจ (Argument) 1. เครื่องดื่มที่ดื่มแล้วชื่นใจ เป็นเครื่องดื่มที่ดีที่สุด 2. ชาเขียว เป็นเครื่องดื่มที่ดื่มแล้วชื่นใจ 3. ชาเขียว เป็นเครื่องดื่มดีที่สุด สมเหตุสมผลแต่ไม่น่าเชื่อถือ

  14. ข้อความแบบละข้ออ้าง คุณไม่รักฉันเลยนะเพราะคุณไม่เคยตามใจฉัน (Argument) คนที่รักฉัน (ทุกคน) เป็นคนที่ตามใจฉัน 1. (...................................................................) 2. คุณไม่เป็นคนตามใจฉัน 3. . . . คุณไม่เป็นคนรักฉัน สมเหตุสมผล (น่าเชื่อถือรึปล่าว!)

  15. ข้อความแบบละข้อสรุป ชื่อว่าผู้ชายขี้หลอกลวง เธอก็เป็นคนหนึ่งละ (Argument) 1. ผู้ชายทุกคนเป็นคนหลอกลวง 2. เธอ เป็นผู้ชายคนหนึ่ง ตอบ. สมเหตุสมผล 3. . . . ............................................... เธอ เป็นคนหลอกลวง

  16. เปรียบเทียบรูป Syllogismกับ Enthymeme Syllogism Enthymeme 1. คนขยันทุกคน เป็นผู้หาทรัพย์ได้ 1. .................................................... 2. จิ๊บเป็นคนขยัน 2. จิ๊บเป็นคนขยัน . . . จิ๊บเป็นผู้หาทรัพย์ได้ . . . จิ๊บเป็นผู้หาทรัพย์ได้ ประโยคที่ละไว้ คือ ประโยคที่เข้าใจกันแล้ว (จึงไม่ต้องแสดงออกมา)

  17. กิจกรรม :แบบฝึกหัด จงสร้างประโยคเหตุผลข้างล่างนี้ให้อยู่ในรูป Syllogism ที่สมบูรณ์และวิเคราะห์การใช้เหตุผลว่ามีรูปแบบเป็นอย่างไร 1. ........................................................................................ ครอบครัวผมถูกแกล้งเพราะถูกริษยาว่าร่ำรวยเกินไป 2. ........................................................................................ เธอโชคดีจริง ๆ ที่สอบเอ็นทรานซ์เข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ 3. ........................................................................................ นักการเมืองที่ซื้อเสียงเป็นคนชั่วจึงไม่ควรเลือกเข้าสภา 4. ........................................................................................ เพราะว่าทุกคนรักในความสุขจึงไม่ควรที่จะเบียดเบียนกัน 5. ........................................................................................ ที่เขากลัวผู้หญิงเพราะเขาเป็นVenustaphobia

  18. วันนี้กอดคุณแม่กอดคุณพ่อแล้วรึยัง...วันนี้กอดคุณแม่กอดคุณพ่อแล้วรึยัง... โซริเตส ช่วงความคิดนิรนัยแบบต่อเนื่องข้อความ (ช่วงความคิดแบบลูกโซ่)

  19. 1.โซริเตสแบบตามของอริสโตเติล1.โซริเตสแบบตามของอริสโตเติล • Aเป็นB • B เป็น C • C เป็น D • D เป็น E • ... Aเป็น E 1. ... A เป็น C 2. ... A เป็น D โซริเตสแบบตามของอริสโตเติล ข้ออ้างเริ่มต้นด้วยเทอมโท

  20. 2.โซริเตสแบบทวนของโกเคลน2.โซริเตสแบบทวนของโกเคลน • a are b • c are a • d are c • e are d • ... e are b 1. ... c เป็นb 2. ... d เป็นb โซริเตสแบบทวนของโกเคลน ข้ออ้างเริ่มต้นด้วยเทอมเอก

  21. Aเป็น B B เป็น C C เป็น D D เป็น E ...Aเป็น E a are b c are a d are c e are d ... e are b เปรียบเทียบ โซริเตสแบบทวนของโกเคลน โซริเตสแบบตามของอริสโตเติล ใช้เทอมเอกเป็นข้ออ้างแรกและข้อสรุป ใช้เทอมโทเป็นข้ออ้างแรกและข้อสรุป

  22. จอห์นเป็นคนชอบซื้อของแพงจอห์นเป็นคนชอบซื้อของแพง คนชอบซื้อของแพงเป็นคนฟุ่มเฟือย คนฟุ่มเฟือยเป็นคนเก็บเงินไม่ได้ คนที่เก็บเงินไม่ได้เป็นคนจน ... จอห์นเป็นคนจน คนที่เก็บเงินไม่ได้เป็นคนจน คนฟุ่มเฟือยเป็นคนเก็บเงินไม่ได้ คนชอบซื้อของแพงเป็นคนฟุ่มเฟือย จอห์นเป็นคนชอบซื้อของแพง ... จอห์นเป็นคนจน เปรียบเทียบ โซริเตสแบบตามของอริสโตเติล โซริเตสแบบทวนของโกเคลน จอห์นเป็นคนฟุ่มเฟือย คนฟุ่มเฟือยเป็นคนจน จอห์นเป็นคนเก็บเงินไม่ได้ คนชอบซื้อของแพงเป็นคนจน

  23. การเขียนแผนภูมิเวนน์แทนประพจน์ตรรกศาสตร์การเขียนแผนภูมิเวนน์แทนประพจน์ตรรกศาสตร์ S P S+P ช่อง 3 ช่อง 1 ช่อง 2 ช่อง 1 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดที่เป็น S แต่ไม่เป็น P ช่อง 2 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดที่เป็น S และเป็น P ช่อง 3 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดที่เป็น P แต่ไม่เป็น S ช่อง 4 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดที่ไม่เป็น S และไม่เป็น P

  24. แผนภูมิเวนน์แทนประพจน์ A ความสุขซื้อไม่ได้แต่เป็นสิ่งสร้างได้ด้วยตัวเอง S S P ความสุขซื้อไม่ได้ สิ่งสร้างได้ด้วยตัวเอง S+P ช่อง 3 ช่อง 1 ช่อง 2 ช่อง 1 หมายถึง ไม่มีประเภทสมาชิกทั้งหมดของ S อยู่ ช่อง 2 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดของ S เป็น P ช่องที่ระบายคือช่องที่ไม่มีสมาชิก (ไม่ได้กล่าวถึง)

  25. แผนภูมิเวนน์แทนประพจน์ E การมีเงินเพิ่มขึ้นไม่ได้ช่วยให้มีความสุขเพิ่มขึ้น S P การมีเงินเพิ่มขึ้น ความสุขเพิ่มขึ้น S+P ช่อง 3 ช่อง 1 ช่อง 2 ช่อง 1 หมายถึง ประเภทของสมาชิกทั้งหมดของS ที่ไม่เป็น P ช่อง 2 หมายถึง ไม่มีประเภทของสมาชิกทั้งหมดของ S เป็น P ช่องที่ระบายคือช่องที่ไม่มีสมาชิกที่กล่าวถึง

  26. แผนภูมิเวนน์แทนประพจน์ I คนในสังคมส่วนใหญ่ถูกลัทธิทุนนิยมบริโภคครอบงำ S P ผู้ถูกลัทธิทุนนิยมบริโภคครอบงำ X ช่อง 3 ช่อง 2 ช่อง 1 คนในสังคม ช่อง 2 หมายถึง ประเภทของสมาชิกบางส่วนที่เป็น S และเป็น P ช่องที่ X คือช่องที่มีสมาชิก

  27. แผนภูมิเวนน์แทนประพจน์ O คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีความสุข S P คนส่วนใหญ่ คนมีความสุข ช่อง 3 ช่อง 1 ช่อง 2 X ช่อง 2 หมายถึง ประเภทของสมาชิกบางส่วนที่ไม่เป็น S และเป็น P ช่องที่ระบายคือช่องที่ไม่มีสมาชิก

  28. S P M 1 2 3 4 5 6 7 8 การใช้แผนภูมิของเวนน์เพื่อตัดสินความถูกต้องแบบนิรนัย ช่วงความคิดแบบนิรนัยหรือซิลลอจิสม์ แต่ละชุดประกอบด้วย 3 เทอม แผนภูมิเวนน์จึงมี 3 วงกลมลากตัดกัน แต่ละจุดที่วงกลมลากตัดกันจะมีช่องต่างๆ เกิดขึ้น 7 ช่อง (ช่องที่ 8 อยู่ข้างนอก) ดังนี้ ช่องที่ 1 หมายถึง ประเภท S ไม่เป็นสมาชิกของ P และ M ช่องที่ 2 หมายถึง ประเภท S เป็นสมาชิกของ P และประเภท P เป็นสมาชิกของ S ช่องที่ 3 หมายถึง ประเภท P ไม่เป็นสมาชิกของ S และ M ช่องที่ 4 หมายถึง ประเภท S เป็นสมาชิกของ M และประเภท M เป็นสมาชิกของ S ช่องที่ 5 หมายถึง ประเภท S เป็นสมาชิกของ P และ M ประเภท P เป็น สมาชิกของ S และ M และประเภท M เป็นสมาชิกของ S และ P ช่องที่ 6 หมายถึง ประเภท P เป็นสมาชิกของ M และประเภท M ที่เป็นสมาชิกของ P ช่องที่ 7 หมายถึง ประเภท M ไม่เป็นสมาชิกของ S และ P ช่องที่ 8 หมายถึง ประเภทของสิ่งต่างๆ ไม่เป็นทั้ง S, P และ M

  29. การทดสอบความสมเหตุสมผลการทดสอบความสมเหตุสมผล All M are P All S are M ∴All S are P * S P * M Validity

  30. การทดสอบความสมเหตุสมผลการทดสอบความสมเหตุสมผล S P Some S are M No M are P ∴Some S arenot P X S P X M Validity

  31. การทดสอบความสมเหตุสมผลการทดสอบความสมเหตุสมผล Some M are S ALL P are M ∴ Some S are P เทอมกลางไม่กระจาย S P X= All S are P X X X X X=All S arenot P All S are M M Invalidity กรุณาแก้เครื่องหมาย X ในหนังสือให้ตรงตำแหน่งด้วยครับ

  32. ตัวอย่างนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จำนวน 300 คน เลือกเรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น 150 คน เลือกเรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น 206 คน เลือกเรียนวิชาปรัชญาทั่วไป 80 คน เลือกเรียนทั้งวิชาศาสนาเบื้องต้นและตรรกศาสตร์เบื้องต้น 74 คน เลือกเรียนวิชาศาสนาเบื้องต้นและปรัชญาทั่วไป 32 คน เลือกเรียนทั้ง 3 วิชา 20 คน จงหาจำนวนนิสิตที่เลือกเรียนทั้งตรรกศาสตร์เบื้องต้นและปรัชญาทั่วไป แต่ไม่เรียนศาสนาเบื้องต้น โดยที่นิสิตแต่ละคนจะต้องเลือกเรียนอย่างน้อย 1 วิชา วิธีทำ ให้M แทนจำนวนของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนจำนวนของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนจำนวนของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป X แทนจำนวนนิสิตที่เรียนตรรกศาสตร์เบื้องต้นและปรัชญาทั่วไป แต่ไม่เรียนศาสนาเบื้องต้น ลำดับขั้นของแผนภาพแสดงจำนวนสมาชิกในเซตมีลักษณะดังนี้ M C X รูปแผนภูมิเวนน์แสดงนิสิตที่เรียนทั้งตรรกศาสตร์เบื้องต้นและปรัชญาทั่วไป แต่ไม่เรียนศาสนาเบื้องต้น X B

  33. M C X 20 นิสิตที่เรียนทั้ง 3 วิชา จำนวน 20 คน B M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป

  34. นิสิตที่เรียนศาสนาเบื้องต้นและปรัชญาทั่วไป 32 คน (20 + 12 = 32) M C 32 -20 = 12 X 20 12 B M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป

  35. นิสิตที่เรียนศาสนาเบื้องต้นและตรรกศาสตร์เบื้องต้น 74 คน (20 + 54 = 74) M 74-20= 54 C 54 X 20 12 B M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป

  36. M นิสิตที่เรียนศาสนาเบื้องต้น 150 คน (20 + 12 + 54 + 64 = 150) M 150 -20 -12-54 = 64 C 54 64 X 20 12 B M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป

  37. C นิสิตที่เรียนตรรกศาสตร์เบื้องต้น 206 คน [54 + 20 + x + (132 – x ) = 206] M 206-74- x = 132- x C 54 132 – x 64 X 20 12 B M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป

  38. B นิสิตที่เรียนปรัชญาทั่วไป 80 คน [12 + 20 + x + (48 – x ) = 80] 80-12-20- x =48-x M C M แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาศาสนาเบื้องต้น C แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น B แทนเซตของนิสิตที่เรียนวิชาปรัชญาทั่วไป 54 132 – x 64 X 20 12 จากแผนภาพดังกล่าวจะได้คำตอบเป็นข้อสรุปดังนี้ 150 + (48 – x) + x + (132 – x) = 300 330 – x = 300 x = 30 B 48 – x นิสิตที่เรียนทั้งวิชาตรรกศาสตร์เบื้องต้น และปรัชญาทั่วไปแต่ไม่เรียนศาสนาเบื้องต้นเท่ากับ 30 คน

  39. ๒.ประโยคเชิงซ้อนหรืออเนกัตถะประโยค๒.ประโยคเชิงซ้อนหรืออเนกัตถะประโยค B. ตรรกศาสตร์แห่งประโยค หนังสือหน้า 30 -34และ 59- 68 การวิเคราะห์การอ้างเหตุผลแบบนิรนัยด้วยประโยคเชิงซ้อนโดยใช้สัญลักษณ์ ประเภทของข้อความซ้อน 5 ลักษณะ • ข้อความซ้อนแบบรวมหมู่(Conjunctive) • ข้อความซ้อนแบบเผื่อเลือก(Disjunctive) • ข้อความซ้อนแบบเงื่อนไข(Impticative) • ข้อความซ้อนแบบสมภาค (Equivalent) • 5. ข้อความซ้อนแบบปฏิเสธ(Negative) Ex. A . B Ex. A v B Ex. A ⊃ B Ex. A ≡ B Ex. ~ A

  40. Pattern logic 1. การวิเคราะห์การอ้างเหตุผลประโยคแบบเงื่อนไข (Condition) หมายถึงการอ้างที่ใช้ประโยคเชิงซ้อนที่ประกอบด้วยประโยคธรรมดา 2 ประโยค มี “ถ้า” เป็นคำเชื่อม เช่น ถ้านันทวันขยันเธอจะสอบได้ A ถ้านันทวันขยัน เป็นประโยคกำหนดเงื่อนไข (Antecedent) เธอจะสอบได้A เป็นประโยคที่เกิดจากเงื่อนไข (Consequent) รูปประโยค คือ p ==> q Antecedent =p ตัวนำ , ตัวเงื่อน , เหตุ Consequent =q ตัวตาม , ผล

  41. รูปแบบของการอ้างเหตุผลแบบประโยคเงื่อนไขมี 8 กรณี Ex.ถ้าฝนตกถนนก็เปียก (p ==> q) (เงื่อนไข) p ==> q(ประโยคเหตุใหญ่/มโนทัศน์ต้นแบบ) กรณีที่1. ฝนตก (=P) (ประโยคเหตุเล็ก/สิ่งที่รับรู้เข้ามาใหม่) ต้องสรุปว่า ถนนกำลังเปียก (= q) สมเหตุสมผล (Modus Ponens) กรณีที่2.ฝนตก (=P) (ประโยคเหตุเล็ก/ สิ่งที่รับรู้เข้ามาใหม่) จะสรุปว่า ถนนไม่เปียก (~ q) ไม่สมเหตุสมผลเพราะผิดเงื่อนไข

  42. กรณีที่3. ฝนไม่ตก (~p(ประโยคเหตุเล็ก/ สิ่งที่รับรู้เข้ามาใหม่) ถ้าจะสรุปว่า ถนนเปียก (q) ไม่สมเหตุสมผลเพราะผิดได้(อาจมีกรณีอื่นทำให้เปียกหรือไม่มีเลยก็ได้) กรณีที่4. ฝนไม่ตก (= ~p)(ประโยคเหตุเล็ก/ สิ่งที่รับรู้เข้ามาใหม่) ถ้าจะสรุปว่า ถนนไม่เปียก (~q) ไม่สมเหตุสมผลเพราะผิดได้อาจมีกรณีอื่นที่ทำให้เปียกได้ กรณีที่5.ถนนเปียก (= q)(ประโยคเหตุเล็ก/ สิ่งที่รับรู้เข้ามาใหม่) ถ้าจะสรุปว่า ฝนตก ( p) ไม่สมเหตุสมผลเพราะว่าถนนอาจเปียกเพราะกรณีอื่นได้

  43. กรณีที่6. ถนนเปียก (=q)(ประโยคเหตุเล็ก/ สิ่งที่รับรู้เข้ามาใหม่) ถ้าจะสรุปว่า ฝนไม่ตก (~p) ไม่สมเหตุสมผลเพราะไม่รู้แน่ว่าอะไรทำให้เปียกอาจเหตุอื่นก็ได้ กรณีที่7. ถนนไม่เปียก (~q)(ประโยคเหตุเล็ก/ สิ่งที่รับรู้เข้ามาใหม่) ต้องสรุปว่าฝนไม่ตก (~p) สมเหตุสมผล(Modus Tollens) กรณีที่8. ถนนไม่เปียก (~q)(ประโยคเหตุเล็ก/ สิ่งที่รับรู้เข้ามาใหม่) ถ้าจะสรุปว่าฝนตก (p) มีเพียง 2 กรณีที่สมเหตุสมผล คือ Modus Ponensและ Modus Tollens ไม่สมเหตุสมผลเพราะ ผิดเงื่อนไข

  44. การพิสูจน์ กรณีรูปแบบที่สมเหตุสมผล ก. รูปแบบชนิดยืนยันตัวนำ สรุปตัวตาม (Modus Ponens) p ==> q Ex.1. ถ้าฝนตกถนนจะเปียก(มโนทัศน์ใหญ่) 2. ฝนตกที่สามแยกเกษตร (มโนทัศน์ย่อย) 3. . . . สามแยกฯต้องเปียก (การจัดหมวดหมู่) p ∴q (เหตุและผลสัมพันธ์กันเมื่อมีเหตุ P เกิดขึ้นผล q ก็ตามมา) Valid

  45. p การพิสูจน์กฎรูปแบบ Modus Ponens ด้วยตารางความจริง p ===> q ∴q Valid

  46. ค่าของประโยคข้อความผสมค่าของประโยคข้อความผสม 1. ข้อความผสมแบบรวมหมู่(Conjunctive) Ex. A . B 2. ข้อความผสมแบบเผื่อเลือก(Disjunctive) Ex. A v B 3. ข้อความผสมแบบเงื่อนไข(Implicative) Ex. A ==> B 4. ข้อความผสมแบบสมภาค (Equivalent) Ex. A ≡ B 5. ข้อความผสมแบบปฏิเสธ(Negative) Ex. ~ A ค่าของประโยคคือ จริงและจริง จึงจะจริง (T.T, ∴T) ค่าของประโยคคือ เท็จหรือเท็จ จึงจะเท็จ (F v F, ∴ F) ค่าของประโยคคือ ถ้าจริงแล้วเท็จ จึงจะเท็จ (T ==> F, ∴F) ค่าของประโยคคือ จริง - จริง, เท็จ - เท็จ จึงจะจริง (T-T, F-F, ∴T) ค่าของประโยคคือ (T ∴F) หรือ (F ∴T)

  47. p ==>๒ T,F p ==>q =๒๒=๔ p ==>q v s =๒๓=๘ q ==> ๒ T,F P๑ P๒ C p q p ==>q p q ๑. Valid T T T T T T F F T F ๒. T T F T ๓. F ๔. F F T F F p ==>q นิรนัย= ถ้าข้ออ้างจริง -การอ้างสมเหตุสมผล-ข้อสรุปต้องจริง p q ∴

  48. ข. ชนิดปฏิเสธตัวตาม สรุปตัวนำ (Modus Tollens) p ==> q Ex.1. ถ้าฝนตกถนนจะเปียก 2. ที่สี่แยกเกษตรไม่เปียก 3. ∴ฝนไม่ตกที่สี่แยกเกษตร ~ q ∴~ p Valid ส่วนผล ~ q ไม่เกิดจึงสรุปได้ว่า ~ p (ไม่มีเหตุใดๆจะเกิดขึ้นแน่นอน) Valid

  49. ~ q การพิสูจน์กฎ Modus Tollens ด้วยตารางความจริง p ===> q ∴~ p Valid

  50. P๑ P๒ C p q p ==>q ~q ~p ๑. t t f f t t f f t f ๒. t t f t ๓. f ๔. f f t t t Valid p ===> q ~ q ∴~ p

More Related