190 likes | 525 Vues
The species of termite s destroying para rubber tree and their management . ชนิดของปลวกที่เข้าทำลายต้นยางพาราและการจัดการ. ยางพารา ( Para rubber Tree ). มีถิ่นกำเนิดอยู่ใน อเมริกากลางและอเมริกาใต้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Hevea brasiliensis พืชในสกุล Hevea sp. ได้แก่
E N D
The species of termites destroying para rubber tree and their management . ชนิดของปลวกที่เข้าทำลายต้นยางพาราและการจัดการ
ยางพารา ( Para rubber Tree ) • มีถิ่นกำเนิดอยู่ใน อเมริกากลางและอเมริกาใต้ • ชื่อวิทยาศาสตร์ Hevea brasiliensis พืชในสกุล Heveasp. ได้แก่ H. benthamian H. Brasiliensis H. CamargoaH. Camporum H. Guianensis H. Microphylla H. Pauciflora H. Paludosa H. Rigidifolia H. Spruceana H. Nitid
สายพันธุ์ของยาพาราในประเทศไทยสายพันธุ์ของยาพาราในประเทศไทย แบ่งตามผลผลิต 1. พันธุ์ยางให้ผลผลิตน้ำยางสูง ได้แก่ RRIT 251, RRIT 226, BPM 24 และ RRIM 600 2. พันธุ์ยางให้ผลผลิตน้ำยางและเนื้อไม้สูง ได้แก่ PB 235, PB255,PB260 และ RRIC 110 3. พันธุ์ยางผลผลิตเนื้อไม้สูง ได้แก่ พันธุ์ พันธุ์ฉะเชิงเทรา 50, AVROS 2037 และ BPM 1
ทางด้านเศรษฐกิจ ฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ กระจายรายได้ให้แก่เกษตรกร อุตสาหกรรมยางพาราและไม้ยางพารา เฟอร์นิเจอร์ ถุงยางอนามัย ถุงมือยาง ยางรถยนต์ การรักษาสภาพแวดล้อม เป็นพืชทดแทนป่าไม้ เป็นที่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ช่วยลดมลภาวะ และช่วยลดปัญหาโลกร้อน ความสำคัญของยางพารา
พื้นที่ปลูกยาพาราในประเทศไทยพื้นที่ปลูกยาพาราในประเทศไทย ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรและสถาบันวิจัยยาง, 2546
โรคและแมลงศัตรูของยางพาราโรคและแมลงศัตรูของยางพารา โรคราแป้ง โรคใบจุดก้างปลา ภาพที่มา : http://www.doa.go.th/pl_data/RUBBER/5pest/Image/pest08.jpg
โรคและแมลงศัตรูของยางพาราโรคและแมลงศัตรูของยางพารา โรคใบจุดตานก โรครากขาว ที่มา : http://www.ldd.go.th/Lddwebsite/web_ord/Technical/pdf/P_Technical06020.pdf
แมลงศัตรูยางพารา หนอนทราย ที่มา : http://www.rubber.co.th/trang/th/images/stories/disease/rye1.gif เพลี้ยหอย ที่มา : http://www.rubber.co.th/trang/th/images/stories/disease/scale1.gif ด้วงมอดไม้ ที่มา : http://www.pbase.com/tmurray74/bark_and_ambrosia_beetles_scolytinae
แมลงศัตรูยางพารา ไรพืช ที่มา : http://www.rubber.co.th/trang/th/images/stories/disease/rye1.gif ปลวก ที่มา : http://www.chem.unep.ch/pops/termites/pics/Ccurvignathus.jpg
ปลวก ( Termite ) • Oder Isoptera • ในเขตร้อน ( Tropical ) พบปลวกประมาณ 2,000 ชนิด • เอเชียตะวันออกเฉียงใต้พบ 270 ชนิด • ปัจจุบันในประเทศไทย พบประมาณ 103 ชนิด
ปลวก ( Termite ) • แบ่งประเภทตามการทำลายและถิ่นที่อยู่อาศัยออกเป็น 5 กลุ่ม 1. Dry - Wood Termites 2. Damp - Wood Termites 3. Subterrenean Termites 4. Rotten-wood Termites 5. Formosan subterranean termites
ปลวกและการเข้าทำลายยางพาราปลวกและการเข้าทำลายยางพารา • ปลวกใต้ดิน (Subterrenean Termites) • ชื่อว่าวิทยาศาสตร์ Coptotermes curvignathus • จัดอยู่ในวงศ์ Rhinotermitidae ปลวกสกุล Coptotermes curvignathus ที่มา : http://mpob.gov.my., 2006
ปลวกและการเข้าทำลายยางพาราปลวกและการเข้าทำลายยางพารา ปลวกสามารถเข้าทำลายต้นยางได้ทุกระยะการเจริญเติบโต การเข้าทำลายของปลวกจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นยางพาราโดยตรง ก ข ภาพรากที่ถูกปลวกเข้าทำลาย ก. ทำลายต้นกล้า ข. ทำลายต้นยาง ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร
การเข้าทำลายต้นยางพาราการเข้าทำลายต้นยางพารา การเข้าทำลาย • กัดกินส่วนรากของต้นยางและเนื้อไม้ภายในลำต้นที่มีชีวิตอยู่ • กัดกินต่อไปภายใน ลำต้นจนเป็นโพรง • สร้างรังอยู่ภายในลำต้น ภาพแสดงการถูกเข้าทำลายของราก ที่มา : http://www.rubber.co.th/trang/th/images/stories/disease/termite1.gif
ปลวกและการเข้าทำลายยางพาราปลวกและการเข้าทำลายยางพารา อาการที่แสดง • ในระยะแรกจะมีลักษณะอาการใบเหลือง • ต่อมาเมื่อระบบรากถูกทำลาย ต้นยางจะตาย อาการใบเหลืองหลังโดนปลวกเข้าทำลาย ที่มา : http://www.rubber.co.th/trang/th/images/stories/disease/termite2.gif
ปลวกและการเข้าทำลายยางพาราปลวกและการเข้าทำลายยางพารา • พืชอาหารของ Coptotermes curvignathus • กระถินเทพา (Acacia mangium) • Paraserianthes falcataria • Gmelina arborea • สัก (Tactona grandis)
การจัดการ • นำต้นไม้ ท่อนไม้ หรือ รากไม้ที่ตาย ออกจากบริเวณที่มีการเข้าทำลายเพื่อป้องกันการเป็นที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของปลวก • การป้องกันกำจัดปลวกให้ใช้สารเคมีออลดริน 0.5%, ดีลดริน 0.5%, เฮปตาคลอ 0.5% คลอเดน 1.0% ผสมน้ำรดดินรอบๆ โคนต้น และ ฟูราดาน 3 จี ในกรณีที่เป็นฤดูฝน หรือกรณีที่ดินมีความชื้นแฉะอยู่ • ใช้การควบคุมโดยชีวะวิธี • ไส้เดือนฝอยSteinernema carpocapsae • ใช้เชื้อรา Metarhizium anisopliae
เสนอโดย... นายณัฐศิษฐ์ ผลประสาร ๔๗๔๐๐๗๐ อาจารย์ที่ปรึกษา อ.วิสุทธิ์ สิทธิฉายา ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2