400 likes | 567 Vues
เรื่อง การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือน ด้านรายได้และรายจ่าย สำหรับนำข้อมูลมาจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค. Story Telling. รวบรวมถ่ายทอดจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียและองค์กรอื่น. วันศุกร์ที่ 4 กรกฎาคม 2551 เวลา 10.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมสำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2
E N D
เรื่อง การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือน ด้านรายได้และรายจ่าย สำหรับนำข้อมูลมาจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค Story Telling รวบรวมถ่ายทอดจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียและองค์กรอื่น วันศุกร์ที่ 4 กรกฎาคม 2551 เวลา 10.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมสำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2 สำนักงานสถิติแห่งชาติ จัดโดย
NSO สำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2 การสำรวจ ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ปี 2550 โดย รัจนา เนตรแสงทิพย์ ผู้อำนวยการสำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2
วัตถุประสงค์ เพื่อต้องการทราบข้อมูลพื้นฐานด้านเศรษฐกิจ และสังคมของครัวเรือน เช่น • ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน (สมาชิก อายุ การศึกษา อาชีพ การทำงาน สวัสดิการที่ได้รับ ภาระของครัวเรือน สภาพที่อยู่อาศัย) • รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน (ต่อคน) • รายจ่ายเฉลี่ยต่อครัวเรือน • ทรัพย์สิน หนี้สิน • การกระจายรายได้
การใช้ประโยชน์ จัดทำฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม ของครัวเรือน ที่สมบูรณ์ที่สุดของประเทศ ทำ Poverty Mapping GDP (รายปี/รายไตรมาส) Poverty Line Hunger Mapping สสช. สศช. FAO
การใช้ประโยชน์ (ต่อ) CPI (ดัชนีราคาผู้บริโภค) วิเคราะห์หนี้สิน/ทรัพย์สิน ภาคครัวเรือน ธปท. ก.การคลัง นำเสนอข้อมูลสุขภาพในด้านเศรษฐกิจ จัดทำงบประมาณโครงการ 30 บาท ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของ ครัวเรือนเกษตร ก.พาณิชย์ ก.สาธารณสุข ก.เกษตรฯ
ควาามเป็นมา แบบสำรวจรายการใช้จ่ายของครัวเรือน ทำการสำรวจทุก 5 2 ปี เดิม (ก่อน 2549) แบบสำรวจรายได้ (ข้อมูลพื้นฐาน, รายได้, ทรัพย์สิน, หนี้สิน, การออม) ขนาดตัวอย่าง 46,000 ครัวเรือน
1. เปลี่ยนแปลงคาบเวลาการสำรวจ (ตั้งแต่ 2549) แบบสอบถามหลัก(Core Module) ทำการสำรวจทุกปี แบบสำรวจสมาชิกและการใช้จ่ายของครัวเรือน ใหม่ (สมาชิกครัวเรือน ลักษณะที่อยู่อาศัย รายจ่าย) ทำการสำรวจทุก 2-3 ปี แบบสอบถามพิเศษ(Special Module) แบบสำรวจรายได้ของครัวเรือน (รายได้ ทรัพย์สิน และหนี้สิน การย้ายถิ่น/การส่งเงิน) แบบสำรวจอนามัยและสวัสดิการสังคม แบบสำรวจการศึกษา อื่นๆ
2. ปรับปรุงแบบสอบถามและการนำไปใช้ประโยชน์ : • ปรับปรุงแบบสอบถามเกี่ยวกับรายได้และ • รายจ่ายให้กระชับและถามง่ายขึ้น • เพิ่มข้อถามที่สำคัญให้ครอบคลุมข้อมูลทุกด้าน • เช่น การย้ายถิ่นและการส่งเงิน การได้รับความช่วย • เหลือจากรัฐบาล ภาระของครัวเรือน (คนพิการ) • เพื่อให้มีข้อมูลด้านสังคม เช่น สุขภาพ การศึกษา • ที่สามารถนำเสนอผลในแง่มุมด้านเศรษฐกิจได้ • (ใช้ประกอบการพิจารณานโยบายได้กว้างขึ้น)
แผนงานโครงการ แบบสอบถาม 2549 50 51 52 53 54 55 แบบสอบถามหลัก -รายจ่าย (รายหมวด) -รายจ่าย (รายละเอียดสินค้า/ บริการ/อาหาร) แบบสำรวจรายได้ แบบสำรวจอนามัยและสวัสดิการ แบบสำรวจการศึกษา แบบสำรวจการออมและ การเข้าถึงบริการการเงิน(ธปท.) แบบสอบถามพิเศษ
การแจงนับ แบบสอบถามพิเศษ แบบสอบถามหลัก (2549, 51,…) (ทุกปี) สศส.2(รายจ่าย) (12 เดือน) (Record 1- 12) สรุปข้อมูลครัวเรือน ตอนที่ 1 สมาชิกของครัวเรือน ตอนที่ 2 ลักษณะที่อยู่อาศัย ตอนที่ 3 ค่าใช้จ่ายสินค้าและบริการ ตอนที่ 4 ค่าใช้จ่ายอาหาร เครื่องดื่มและยาสูบ
แบบสอบถามพิเศษ (2549, 51,....) อื่น ๆ สอส. (อนามัยฯ) สศส.3 (รายได้) (6 เดือน) (12 เดือน) (Record 13- 18) (Record 19 - 20) ตอน 1 จากค่าจ้าง/เงินเดือน ตอน 1 หลักประกันด้านสุขภาพ ตอน 2 จากธุรกิจ อุตสาหกรรม ตอน 2 การเจ็บป่วย วิชาชีพ การรับบริการสาธารณสุข ตอน 3 จากการเกษตร ตอน 3 การประเมินสถานะสุขภาพ ตอน 4 การสูบบุหรี่ ตอน 4 จากแหล่งอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่จากการทำงาน) ตอน 5 การดื่มสุราฯ ตอน 6 ความปลอดภัยในการขับขี่ ตอน 5 ทรัพย์สินและหนี้สิน ตอน 6 การย้ายถิ่น/การส่งเงิน ตอน 7 การบาดเจ็บ/อุบัติเหตุ
ครัวเรือนส่วนบุคคลทุกจังหวัด ทั่วประเทศ ทั้งในเขต/ นอกเขตเทศบาล ครัวเรือนส่วนบุคคลที่อาศัยในครัวเรือนสถาบัน (หอพัก โรงพยาบาล ฯลฯ) รวม คุ้มรวม
แผนการสุ่มตัวอย่าง Stratified Two-Stage Sampling หน่วยตัวอย่าง ขั้นที่ 1 ชุมรุมอาคาร/หมู่บ้าน (4,090) ขั้นที่ 2 ครัวเรือนส่วนบุคคล (52,000) ระเบียบวิธีการสำรวจ
สัมภาษณ์ ก.พ.50 สัมภาษณ์ ก.พ.50 1 ก.พ.49 31 ม.ค.50 1-31 ม.ค.50 สัมภาษณ์ ก.พ.50 (สัปดาห์ที่ 2) 31 ม.ค.50 สัปดาห์ ที่ 1 เวลาที่อ้างอิง 1. ในรอบ 12 เดือนที่แล้ว ; 2. เดือนที่แล้ว ; 3. สัปดาห์ที่แล้ว ;
คาบการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานสนาม วันที่ 7 - 20 ของทุกเดือน บรรณาธิกรและลงรหัส วันที่ 21 - 25 ของทุกเดือน บันทึกข้อมูล วันที่ 26 - 30 ของทุกเดือน ส่งแบบและไฟล์ข้อมูลถึงส่วนกลาง ภายในอาทิตย์แรกของเดือนถัดไป ของตอบแทนครัวเรือน (เฉพาะครัวเรือนที่แจงนับได้) ให้ สถจ. กบจ. ซื้อเอง 50 บาทต่อครัวเรือน แบบ สศส.2 (อาหาร 7 วัน) 200 บาท ต่อครัวเรือน
การสำรวจ สศส. ต้องการทราบ • รายได้ ทุกประเภท (เงิน/สิ่งของ) ถามในรอบ 12 เดือนที่แล้ว . (แล้วนำมาหาค่าเฉลี่ย/เดือน ; 12) . รายได้/รายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน (ในรอบปีที่ผ่านมา) หนี้สินและทรัพย์สินของครัวเรือน
ไม่ใช่อาหาร (จ่ายจริง) ถามในรอบเดือนที่แล้ว . (รายการที่จ่ายบ่อย ๆ เป็นประจำ) . ถามในรอบ 12 เดือนที่แล้ว (แต่อาจเกิดในเดือนที่แล้วก็ได้) (รายการที่นานๆ จ่ายครั้ง) (แล้วนำมาหาค่าเฉลี่ย/เดือน ; 12) อาหาร • รายจ่าย ถามในรอบสัปดาห์ที่แล้ว (เพื่อให้สะดวกต่อการนึกคิด และความจำ) (แล้วนำมาหาค่าเฉลี่ย/เดือน) (บริโภคจริง)
รายได้ของครัวเรือน (ในรอบ 12 เดือนที่แล้ว) (เงิน/สิ่งของ) - เงินรางวัล ถูกสลากกินแบ่ง - เงินมรดก ของขวัญ - เงินจากประกันสุขภาพ/อุบัติเหตุ ไฟไหม้ (ไม่ใช่ประเภทสะสมทรัพย์) - ค่านายหน้า (ไม่ใช่ธุรกิจ) รายได้ไม่ประจำ รายได้ประจำ
รายได้ประจำ ประเมินค่าเช่าบ้าน ของตนเอง ที่อยู่เอง/ ได้อยู่ฟรี - เงินบำเหน็จ/บำนาญ - เงินชดเชยออกจากงาน - เงินประโยชน์ทดแทน(อุบัติเหตุ เจ็บป่วย) - เงินช่วยเหลือจากบุคคลอื่น - รายได้จากทรัพย์สิน(ดอกเบี้ย ค่าเช่า ค่าลิขสิทธิ์) - การลงทุน(ที่ไม่ได้ร่วมทำงาน)(ซื้อหุ้น รับเงินปันผล) จากการทำงาน ไม่ใช่จากการทำงาน
จากการทำงาน ประกอบธุรกิจ ค่าจ้าง/เงินเดือน อุตสาหกรรม (ก่อนหักภาษี/เงินสมทบ) วิชาชีพ งานส่วนตัว รวม - ส่วนบุคคล - ปลูกพืช/ทำป่าไม้ - เลี้ยงสัตว์ - ค่าตอบแทน - ส่วนบุคคล - เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ - ห้างหุ้นส่วน (โบนัส ค่าล่วงเวลา - ประมง (ไม่จดทะเบียน) เปอร์เซ็นต์การขาย..) - หาของป่า/ล่าสัตว์ - สวัสดิการ (ไม่รวม นิติบุคคล) - บริการทางการเกษตร (ไม่รวม นิติบุคคล) ประกอบการเกษตร
ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน (ในรอบ 12 เดือนที่แล้ว) ซื้อ/ จ่าย ด้วยเงิน / สิ่งของ ไม่ได้ซื้อ/ จ่าย ผลิตเอง/ของในร้าน ได้ฟรี / ได้รับความช่วยเหลือ เบิกได้ เป็นสวัสดิการจากการทำงาน ค่าใช้จ่ายสินค้าและบริการ ค่าใช้จ่ายอาหาร เครื่องดื่ม ยาสูบ
ไม่ใช่การอุปโภค/ บริโภค อุปโภค/ บริโภค ในครัวเรือน ในครัวเรือน 1. ที่อยู่อาศัย • ภาษี การบริการทางการเงิน ค่าปรับ • ค่าสมาชิกกลุ่มอาชีพ 2. เครื่องแต่งบ้าน ของใช้เบ็ดเตล็ด • เงิน/สิ่งของให้บุคคลนอกครัวเรือน การดำเนินการในบ้าน 3. ค่าจ้างบุคคลที่ให้บริการครัวเรือน เงินบริจาค ทำบุญ/ช่วยงาน 4-5 เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย รองเท้า - เบี้ยประกันภัย/ ชีวิต (ไม่ใช่สะสมทรัพย์) 6. ของใช้/ บริการส่วนบุคคล • ซื้อสลากกินแบ่ง/หวย การพนัน 7. เวชภัณฑ์/ค่ารักษาพยาบาล • ดอกเบี้ยจ่าย ดอกเบี้ยแชร์ 8. การเดินทาง/ การสื่อสาร • อื่นๆ (ค่าขนย้าย, ...) 9. การศึกษา 10-11 การบันเทิง/กีฬา การอ่าน กิจกรรมทางศาสนา จัดงานพิธี
1. ข้าว แป้ง และอาหารที่ทำจากแป้ง 2. เนื้อสัตว์ และสัตว์ปีกทุกชนิด 3. ปลาและสัตว์น้ำอื่น ๆ 4. อาหารประเภทนม เนย เนยแข็งและไข่ 5. น้ำมัน และไขมัน 6. ผลไม้ และถั่วเปลือกแข็ง 7. ผัก 8. น้ำตาลและขนมหวาน 9. เครื่องปรุงรส และเครื่องเทศ 10. เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ (บริโภคที่บ้าน) 11. อาหารสำเร็จรูปที่ซื้อมา (บริโภคที่บ้าน) 12. อาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ (บริโภคนอกบ้าน) 13. เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (บริโภคใน/นอกบ้าน) 14. ยาสูบ หมาก ยานัตถุ์ และผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน
ทรัพย์สินทางการเงิน ทรัพย์สินอื่นๆ - เงินฝาก - บ้าน/ที่ดิน - หุ้น ตั๋วสัญญาใช้เงิน - รถยนต์ - พันธบัตร - เงินประกันชีวิต (ประเภทสะสมทรัพย์) - เงินให้กู้ยืม - เงินส่งแชร์ -ทอง/เครื่องเพชร ฯลฯ 25. ทรัพย์สินของครัวเรือน
- เงินกู้ยืมที่ค้างชำระ (สถาบันการเงิน/ บุคคลอื่นนอกครัวเรือน) - หนี้ที่เกิดจากการเช่าซื้อ การซื้อสินค้าเงินผ่อน เงินเชื่อจากร้านค้า (รวมการรับลูกสัตว์มาเลี้ยงก่อน และหักค่าใช้จ่ายภายหลัง) - การจำนำ/ จำนอง - การส่งแชร์ (ตาย) 26. หนี้สินของครัวเรือน
การแจงนับ สศส. 2550 1) แบบรายจ่าย(12 เดือน) - สศส.2 80% - สศส.2 (พิเศษ) 20% สศส.2 (อาหาร 7 วัน) 2) แบบรายได้(12 เดือน) - สศส.3 100% 3) แบบสำรวจอนามัยฯ(6 เดือน) - สอส.50 100%
- สศส.2 (พิเศษ) 20% สศส.2 (อาหาร 7 วัน) การแจงนับ ต้องเลือกตัวอย่างใหม่ทดแทน ถ้าแจงนับไม่ได้ นอกเขต ; ครัวเรือนที่ 2, 7 ในเขต ; ครัวเรือนที่ 2, 7, 12
ปี 2549 (100%) ปี 2550 (80%) ตอนที่ 1 สมาชิกครัวเรือน ตอนที่ 1 เหมือน ปี 49 ตอนที่ 2 ลักษณะที่อยู่อาศัย ตอนที่ 2 ตอนที่ 3 ค่าใช้จ่ายสินค้าและ ตอนที่ 3 และบริการ ตอนที่ 4 ค่าใช้จ่ายอาหาร ตอนที่ 4 ค่าใช้จ่ายอาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบ หมวด ก อาหารแห้ง/สำเร็จรูป เครื่องดื่ม และยาสูบ ที่เก็บไว้บริโภคได้นาน เกิน 1 สัปดาห์ (ที่บริโภคจริงในรอบสัปดาห์) (เฉพาะที่ครัวเรือนบริโภคประจำสม่ำเสมอ) หมวด ข อาหารทุกชนิด (บริโภคในรอบสัปดาห์) แบบ สศส.2 (รายจ่าย)
550 = 128 1 1 2 ถัง 550 ข้าวสาร 1 x 4.3 45 2 1 45 3 = 15 ห่อ วุ้นเส้น 3 450 = 105 1 3 2 กก. 450 เนื้อเค็ม 1 x 4.3 150 x 7 = 105 10 กก. 1 1 150 กุนเชียง 10 ตัวอย่างการบันทึก ตอนที่ 4 หมวด ก อาหารแห้งฯ ที่เก็บไว้บริโภคเกิน 1 สัปดาห์
แบบ สศส.2 (พิเศษ),สศส2 (อาหาร 7 วัน) (รายจ่ายของสำนักดัชนีฯ) ตอนที่ 1, 2 (เหมือน สศส.2) ใช้จัดทำ CPI และ Poverty line สศส.2 (พิเศษ) (20%) สศส.2 (อาหาร 7 วัน)(20%) ตอนที่ 3 ค่าใช้จ่ายสินค้าและบริการ (แบบละเอียด) ตอนที่ 4 ค่าใช้จ่ายอาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบ (แบบละเอียด) แบบจดบันทึก (ทุกวัน) ค่าใช้จ่ายของ ครัวเรือน หมวด ก อาหารแห้ง/สำเร็จรูป ที่เก็บไว้บริโภคได้นาน เกิน 1 สัปดาห์ (เฉพาะที่ครัวเรือนบริโภคประจำสม่ำเสมอ) เกี่ยวกับอาหาร 7 วัน หมวด ข อาหารทุกชนิด (บริโภคในรอบสัปดาห์)
ผลการสำรวจ สศส. 2550 แผนภูมิ 1 รายได้/ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือน หนี้สินต่อรายได้
แผนภูมิ 2 ร้อยละของครัวเรือนที่มีหนี้ และหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน
แผนภูมิ 3 ร้อยละของรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน จำแนกตามแหล่งที่มาของรายได้ (ปี 2550)
แผนภูมิ 4 ร้อยละของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครัวเรือน จำแนกตามประเภทค่าใช้จ่าย (ปี 2550)
แผนภูมิ 5 ร้อยละของหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม (ปี 2550)
ตาราง 1 การเปลี่ยนแปลง รายได้ ค่าใช้จ่าย และหนี้สิน ของครัวเรือน (ปี 2549 และ 2550) 1/ ปรับด้วยดัชนีราคาผู้บริโภค
แผนภูมิ 6 ส่วนแบ่งของรายได้ประจำต่อคนต่อเดือน ปี 2549-2550 โดยจำแนกครัวเรือนเป็น 5 กลุ่ม
ขอบคุณ ผู้อำนวยการสำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2 และข้าราชการสำนักสถิติฯ ทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่ง