1 / 46

การปรับเปลี่ยนเครื่องจักรอย่างรวดเร็ว

การปรับเปลี่ยนเครื่องจักรอย่างรวดเร็ว. Quick changeover. จุดประสงค์. SMED : Single Minute Exchange of Die เป็นทฤษฎีและเทคนิคที่ช่วยให้สามารถดำเนินการติดตั้งและปรับเครื่องจักรได้ภายในเวลาอันสั้น เป้าหมาย : เพื่อทำให้ เวลาที่ใช้ในการปรับเปลี่ยน เครื่องจักรลดลง. ระบบ SMED.

oleg-kim
Télécharger la présentation

การปรับเปลี่ยนเครื่องจักรอย่างรวดเร็ว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปรับเปลี่ยนเครื่องจักรอย่างรวดเร็วการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรอย่างรวดเร็ว Quick changeover

  2. จุดประสงค์ SMED : Single Minute Exchange of Die เป็นทฤษฎีและเทคนิคที่ช่วยให้สามารถดำเนินการติดตั้งและปรับเครื่องจักรได้ภายในเวลาอันสั้น เป้าหมาย: เพื่อทำให้ เวลาที่ใช้ในการปรับเปลี่ยน เครื่องจักรลดลง

  3. ระบบ SMED พื้นฐานของระบบ SMED มี2ประการ 1. การปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักรสามารถแบ่งออกเป็น2ประเภท คือ การติดตั้งเครื่องภายใน (internal setup) : ต้องทำในขณะที่เครื่องจักรหยุดทำงาน การติดตั้งเครื่องภายนอก (external setup) : สามารถทำได้ในขณะที่เครื่องจักรทำงานอยู่ 2. เวลาที่ใช้ในการปรับแต่งเครื่องจักร (changeover time) *****แปลงการติดตั้งเครื่องภายในให้เป็นการตั้งเครื่องภายนอก*****

  4. หลากหลาย ความต้องการในปัจจุบันของลูกค้า ตามปริมาณที่ต้องการ ได้ผลิตภัณฑ์คุณภาพสูง ราคาไม่แพง มีการส่งมอบที่รวดเร็ว ทำไม SMED จึงสำคัญ SMED ผลิตในปริมาณที่น้อยลง หรือผลิตเป็นlotsที่เล็กลง

  5. ความสูญเสียที่เกิดจากสินค้าคงคลังความสูญเสียที่เกิดจากสินค้าคงคลัง 1 ความล่าช้า 2 คุณภาพลดลง 3 ปัญหาที่มาพร้อมกับการผลิตชุดใหญ่

  6. ผลประโยชน์ที่ได้รับจาก SMED  ความยืดหยุ่น  การส่งมอบรวดเร็วขึ้น  คุณภาพดีขึ้น  ผลิตภาพสูงขึ้น  การติดตั้งเครื่องจักรที่ง่ายขึ้น  สินค้าคงคลังที่น้อยลง

  7. การปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักรการปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักร สามารถแบ่งเป็น2แบบ  การติดตั้งเครื่องภายใน (internal setup) การติดตั้งเครื่องจักรแบบที่สามารถทำได้ก็ต่อเมื่อเครื่องจักรต้องหยุดทำงานเพียงเท่านั้น การตั้งเครื่องภายนอก (external setup) การติดตั้งเครื่องจักรแบบที่สามารถทำได้ในขณะที่เครื่องจักรยังคงทำงานอยู่

  8. ขั้นตอนพื้นฐานในการปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักรขั้นตอนพื้นฐานในการปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักร ขั้นตอนพื้นฐานในการติดตั้งเครื่องจักรและเวลาที่ต้องหยุดเดินเครื่องจักรก่อนที่จะมีการปรับปรุงด้วยSMED

  9. การจัดเตรียม การจัดให้เรียบร้อยหลังกระบวนการ การตรวจเช็ควัตถุดิบและเครื่องมือ “ชิ้นส่วนและเครื่องมือทุกชิ้นอยู่ในที่ที่พวกมันควรอยู่ และพวกมันจะทำหน้าที่ได้โดยไม่มีปัญหา”

  10. การใส่และการถอดใบมีด เครื่องมือ และชิ้นส่วน “ประกอบด้วยการถอดชิ้นส่วนและเครื่องมือออกหลังจากที่ผลิตเสร็จหนึ่งชุด และการใส่ชิ้นส่วนและเครื่องมือสำหรับการผลิตชุดต่อไปเข้าไป”

  11. การวัด การตั้งค่า และการสอบเทียบ “การวัดและการสอบเทียบ ต้องทำเพื่อให้สามารถดำเนินการผลิตได้ เช่น การตั้งศูนย์ การกำหนดขนาด การวัดอุณหภูมิหรือความดัน”

  12. การทดลองเดินเครื่องและการปรับแต่งการทดลองเดินเครื่องและการปรับแต่ง “การปรับแต่งเครื่องจักรอย่างถูกต้องถือเป็นงานที่ยากที่สุดงานหนึ่งในการปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักร สำหรับการติดตั้งแบบเดิมจะกินเวลาถึงครึ่งหนึ่งของเวลาทั้งหมดที่ใช้ในการติดตั้งเครื่องจักร”

  13. บันทึกวิดีโอการปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักรทุกขั้นตอนบันทึกวิดีโอการปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักรทุกขั้นตอน ขั้นที่1 เปิดวิดีโอให้พนักงานติดตั้งเครื่องจักรและคนอื่นๆที่เกี่ยวข้องดู ขั้นที่2 ศึกษาวิดีโออย่างละเอียด ขั้นที่3 การวิเคราะห์การปฏิบัติการติดตั้งเครื่องจักร

  14. 1 2 3 แยกแยะระหว่างการติดตั้งเครื่องภายในและการตั้งเครื่องภายนอก แปลงการตั้งเครื่องภายในให้เป็นการตั้งเครื่องภายนอก ปรับปรุงการติดตั้งเครื่องจักรให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น 3ขั้นในการทำ SMED

  15. ขั้นที่1 แยกแยะระหว่างการติดตั้งเครื่องภายในและการตั้งเครื่องภายนอก “การแยกแยะระหว่างการตั้งเครื่องภายในและการตั้งเครื่องภายนอกด้วยการทำสิ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจน เช่น การจัดเตรียมและการขนย้ายในขณะที่เครื่องจักรกำลังทำงานอยู่”

  16. ขั้นที่2 แปลงการตั้งเครื่องภายในให้เป็นการตั้งเครื่องภายนอก เกี่ยวข้องกับกิจกรรมสำคัญ2อย่างคือ  พิจารณาการปฏิบัติการใหม่อีกครั้ง  หาทางแปลงขั้นตอนเหล่านี้ให้เป็นการตั้งเครื่องภายนอก

  17. ขั้นที่3 ปรับปรุงการติดตั้งเครื่องจักรให้มีประสิทธิภาพ “เพื่อลดเวลาที่ใช้ในการติดตั้งเครื่องจักรลงไปอีก”

  18. รายละเอียดขั้นที่1  จะต้องแยกงานที่สามารถดำเนินการในขณะที่เครื่องจักรเดินเครื่องอยู่ออกจากงานที่ต้องทำในขณะที่หยุดเครื่อง  เช่น การเตรียมคนที่เกี่ยวข้อง การจัดเตรียมชิ้นส่วนและเครื่องมือ การแก้ไข่ซ่อมแซม และการนำชิ้นส่วนและเครื่องมือไปไว้ใกล้ๆกับเครื่องจักร  งานเหล่านี้มักถูกทำหลังจากหยุดเครื่องจักรแล้ว แทนที่จะทำตั้งแต่เครื่องจักรยังคงผลิตงานชุดก่อนหน้าอยู่ ขั้นที่1 แยกแยะระหว่างการติดตั้งเครื่องภายในและการตั้งเครื่องภายนอก

  19. รายละเอียดขั้นที่1 การใช้รายการตรวจสอบ เทคนิคในทางปฏิบัติ 3อย่าง การตรวจสอบการทำงาน การปรับปรุงการขนย้ายแม่พิมพ์ และชิ้นส่วนอื่นๆ

  20. รายการตรวจสอบ รายการตรวจสอบ (checklist) จะมีรายชื่อสิ่งของทุกอย่างที่ต้องใช้ในการติดตั้งและการเดินเครื่องครั้งต่อไป

  21. รายการตรวจสอบ ในchecklistประกอบด้วย เครื่องมือ เอกสารแสดงข้อกำหนด และพนักงานที่ต้องการใช้ ค่าที่เหมาะสมสำหรับสภาวะปฏิบัติงาน เช่น อุณหภูมิ ความดัน กระแสไฟฟ้า และอัตราการป้อน การวัดและขนาดที่ถูกต้องสำหรับการปฏิบัติการแต่ละอย่าง

  22. รายการตรวจสอบ

  23. การตรวจสอบการทำงาน “การตรวจสอบการทำงานสามารถช่วยประหยัดเวลาและป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดขึ้น”

  24. การปรับปรุงการขนย้ายชิ้นส่วนและอุปกรณ์การปรับปรุงการขนย้ายชิ้นส่วนและอุปกรณ์ ควรมีการขนย้ายชิ้นส่วนตัวใหม่และเครื่องมือไปยังเครื่องจักรก่อนที่จะมีกี่หยุดเครื่องเพื่อทำการปรับเปลี่ยน

  25. ตัวอย่าง  ขั้นตอนการปฏิบัติก่อนการปรับปรุง การใช้ SMEDกับงานขนย้ายแม่พิมพ์เป็นการตั้งเครื่องภายนอก

  26. ตัวอย่าง ขั้นตอนการปฏิบัติหลังปรับปรุง

  27. ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญของจุดนี้คือ การทำให้เวลาที่เครื่องจักรหยุดทำงานสั้นลง

  28. ขั้นที่ 2 : การแปลงการตั้งเครื่องภายในให้เป็นการตั้งเครื่องภายนอก ในขั้นที่สองนี้จะมีการทำงานอยู่ 2 ขั้นคือ พิจารณาหน้าที่และจุดประสงค์ที่แท้จริงของการปฏิบัติการแต่ละอย่างที่อยู่ในส่วนการตั้งเครื่องภายในแบบปัจจุบัน หาทางแปลงขั้นตอนต่างๆที่อยู่ในส่วนของการตั้งเครื่องภายในให้เป็นการตั้งเครื่องภายนอก

  29. เทคนิคในทางปฏิบัติ เทคนิคในทางปฏิบัติมีอยู่ 3 อย่าง คือ การจัดเตรียมสภาวะการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า การทำหน้าที่การทำงานให้เป็นมาตรฐาน การใช้จิ๊กกลาง

  30. การจัดเตรียมสภาวะการปฏิบัติงานล่วงหน้าการจัดเตรียมสภาวะการปฏิบัติงานล่วงหน้า

  31. การทำหน้าที่การทำงานให้เป็นมาตรฐานการทำหน้าที่การทำงานให้เป็นมาตรฐาน วิธีการทำหน้าที่การทำงานหรือฟังก์ชั่นให้เป็นมาตรฐานจะต้องมีการดำเนินการ 2 ขั้นตอน ดังนี้ 2พิจารณาหน้าที่การทำงานอีกครั้งและดูว่าหน้าที่การทำงานใดบ้างที่สามารถทำให้ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้ 1 พิจารณาดูแต่ละหน้าที่การทำงานในกระบวนการติดตั้งเครื่องจักรย่างละเอียดและตัดสินใจว่าหน้าที่การทำงานใดทำให้เป็นมาตร ฐานได้

  32. การทำหน้าที่การทำงานให้เป็นมาตรฐานการทำหน้าที่การทำงานให้เป็นมาตรฐาน

  33. การใช้จิ๊กกลาง จิ๊กกลาง คือ แผ่นหรือกรอบที่มีขนาดมาตรฐานซึ่งสามารถถอดออกจากเครื่องจักรได้ ซึ่งเราสามรถใช้จิ๊กกลางเพื่อเปลี่ยนงานที่เป็นการตั้งเครื่องภายในให้เป็นงานที่เป็นการตั้งเครื่องภายนอกได้

  34. ขั้นที่ 3 : การปรับปรุงการติดตั้งเครื่องจักรในทุกๆแง่มุมให้มีประสิทธิภาพ เทคนิคในทางปฏิบัติสำหรับการปรับปรุงในขั้นที่ 3 สามารถแบ่งออกเป็น  การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายนอก  การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายใน

  35. การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายนอกการปรับปรุงการตั้งเครื่องภายนอก

  36. การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายในการปรับปรุงการตั้งเครื่องภายใน เมื่อเราพูดถึงการปรับปรุงการดำเนินการตั้งเครื่องภายใน ก็จะรวมไปถึงการ ปฏิบัติการแบบขนาน การใช้ตัวจับแม่พิมพ์ตามหน้าที่งาน การกำจัดการปรับแต่ง การทำให้เป็นกลไก

  37. การปฏิบัติการแบบขนาน

  38. การใช้ปากกาจับแม่พิมพ์ตามหน้าที่งานการใช้ปากกาจับแม่พิมพ์ตามหน้าที่งาน ปากกาจับแม่พิมพ์ตามหน้าที่งาน (Function Clamp) เป็นอุปกรณ์จับยึดซึ่งยึดวัตถุให้อยู่กับที่โดยใช้แรงน้อยที่สุด โดยมันอาจจะใช้สลักเกลียวที่ถูกดัดแปลงหรืออาจเป็นปากกาจับยึดชนิดอื่นที่แตกต่างออกไปแต่สามารถ ทำให้แน่นหรือคลายออกได้อย่างรวดเร็ว ระบบจับแม่พิมพ์ตามหน้าที่งานมีทั้งวิธีการแบบหมุน 1 รอบ , แบบเคลื่อนไหว 2 ครั้ง และแบบจับยึดระหว่างกัน

  39. วิธีการแบบหมุน 1 รอบ

  40. วิธีการเคลื่อนไหวแบบ 1 ครั้ง

  41. วิธีการแบบจับยึดระหว่างกันวิธีการแบบจับยึดระหว่างกัน

  42. การกำจัดการปรับแต่ง มีเทคนิคในทางปฏิบัติสำหรับการกำจัดการปรับแต่งอยู่ 3 อย่าง คือ การใช้สเกลแบบตัวเลข การทำให้มองเห็นเส้นกึ่งกลางสมมติ การใช้ระบบตัวคูณร่วมน้อย

  43. การใช้สเกลแบบตัวเลข

  44. เส้นกึ่งกลางและระนาบอ้างอิงที่มองเห็นได้เส้นกึ่งกลางและระนาบอ้างอิงที่มองเห็นได้

  45. ระบบตัวคูณร่วมน้อย

  46. Thank You

More Related