1 / 34

การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของเห็ดรา : Deuteromycetes

จัดทำโดย 1. นางสาววีรญา มูนีกุล รหัส 404552002 2. นางสาวทัศนียา โตะแว รหัส 404552009 โปรแกรมวิชาชีววิทยาประยุกต์ กลุ่มพื้นฐานที่ 11. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของเห็ดรา : Deuteromycetes. Mycology (4032605) Lecture 3. Deuteromycetes.

olive
Télécharger la présentation

การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของเห็ดรา : Deuteromycetes

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จัดทำโดย1. นางสาววีรญา มูนีกุล รหัส 4045520022. นางสาวทัศนียา โตะแว รหัส 404552009โปรแกรมวิชาชีววิทยาประยุกต์กลุ่มพื้นฐานที่ 11

  2. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของเห็ดรา: Deuteromycetes Mycology (4032605) Lecture 3

  3. Deuteromycetes • > 20,000 สปีชีส์ของเห็ดราจาก2600 จีนัส ที่ไม่ทราบสภาพการสืบพันธุ์ • เห็ดรานี้ถูกเรียกว่า : • Anamorphic fungi • Mitosporic fungi • Conidial fungi • Imperfect fungi • Fungi imperfecti

  4. ชนิดของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศชนิดของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ • Conidium (pl. conidia) • สปอร์เป็นแบบไม่เคลื่อนที่ เพื่อการแพร่กระจาย • Chlamydospore • 1เซลล์สปอร์ (ส่วนใหญ่มักมีผนังเซลล์หนา) เพื่อเป็นบ่อเกิดของการสร้างเซลล์ด้านใน • Sclerotium (pl. sclerotia) • ไฮฟาที่เป็นรูปกลม จะมีความแตกต่างภายนอกและเป็นกลุ่ม

  5. Propagules chlamydospores conidia sclerotia

  6. Asexual propagules--dispersal

  7. รูปแบบของถุงสปอร์ • สี • Hyaline หรือสีสด (hyalo-) • รงควัตถุ (สีน้ำตาล) • รูปร่างและผนังกั้น • 1-celled — amerospore • 2-celled — didymospore • หลายcelled — phragmospore • Muriform — dictyospore • รูปร่างคล้ายตะใบ— scolecospore • รูปร่างเหมือนสปริง — helicospore • รูปร่างแตกแขนง -- staurospore

  8. Saccardoan Spore Types scolecospore amerospore staurospore helicospore dictyospore phragmospore didymospore

  9. สันฐานของSynana • มีรูปแบบ 2 หรือมากกว่าของสปอร์แบบไม่อาศัยเพศที่สร้างโดยเห็ดราบางชนิด • ตัวอย่าง: • Ceratocystis fibriata

  10. Conidiogenous Cells • ไฮฟา 1 ช่อง หรือเซลล์จากอันใดอันหนึ่ง หรือบนอันใดอันหนึ่งที่สร้างโคบิเดีย • Conidiogenous cells อาจจะถูกสร้างโดยตรงจากไฮฟา หรือบนตัวอย่างพิเศษ หรือแขนงไฮฟา เรียกว่า conidiophore

  11. From D. Malloch

  12. การเจริญของ Conidial (Ontogeny) • Blastic—ออกดอกจากโคนีเดียดั้งเดิมก่อนที่จะสร้าง septum โดยไม่จำกัด • Thallic—ส่วนที่ต่อจากปล้องของไฮฟาที่มีชีวิตกลายเป็นโคนีเดีย

  13. Blastic versus thallic Cole, 1986

  14. การเจริญของBlastic • Holoblastic • โคโลนีเดี่ยวที่สร้างจากตำแหน่งของ conidiogenous ชั้นผนังเซลล์ทั้งหมดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างของผนังโคนิเดียEnteroblastic • มากกว่า 1 โคนิเดียสร้างจากตำแหน่ง ผนังเซลล์ชั้นในเท่านั้นซึ่งเกี่ยวข้องในการสร้างผนังโคนิเดีย

  15. การสืบพันธุ์ของโคนิเดียการสืบพันธุ์ของโคนิเดีย • Basipetal = หนึ่งสายของโคนิเดียในสปอร์ถูกสร้างจากฐาน โคนิเดียที่แก่สุดอยู่ที่ปลายสุด • Acropetal = หนึ่งสายของโคนีเดียกับสปอร์ใหม่ถูกสร้างจากกิ่งสุดท้าย สปอร์ที่แก่สุดอยู่บนฐานเป็นลำดับสำหรับเป็นแบบในการสร้างโคนิเดีย โคนิเดียส่วนมากมีหน้าที่เป็นconidiogenous cells (ตัวอย่าง Alternaria, Cladosporium)

  16. การเจริญของEnteroblastic • Phialidic—a basipetal ลำดับของโคนีเดียที่สร้างจากตำแหน่งที่คงที่บน conidiogenous cell (phialide) • Annellidic—a basipetal ลำดับของโคนิเดียที่สร้างโยมีการงอกซ้ำของตำแหน่งconidiogenous ปลายไกลสุดของตำแหน่งกับรอยตามขวาง (annellations)

  17. From Cole, 1986

  18. Holoblastic From Hawksworth et al., 1995

  19. Holoblastic/synchronous Holoblastic/sympodial From Hawksworth et al., 1995

  20. การกำหนดตำแหน่งของโคนิเดียการกำหนดตำแหน่งของโคนิเดีย • เดี่ยว ๆ • Catenate = สายแท้ • Seriate = สายเทียม , หัวสปอร์ • สปอร์แห้ง • สปอร์เปียก (gleoid)

  21. Alternaria

  22. Alternaria

  23. Cladosporium

  24. Conidiophores • ไฮฟาที่พา conidiogenous cells • สันฐานวิทยาเรียกสิ่งที่แตกต่างของvegetative hyphae (=macronematous) • สัณฐานวิทยาเรียกสิ่งที่ไม่แตกต่าง (=micronematous)

  25. Macronematous conidiophores

  26. Macronematous conidiophores

  27. Micronematous conidiophores

  28. Micronematous conidiophores

  29. รูปแบบของDeuteromycetes • Hyphomycetes—fungiที่สร้างโคนิเดียจาก conidiogenous cells อิสระบนmycelia • อาจจะสร้างบนผิวหนังsynnemata or sporodochia • Coelomycetes—fungi ที่สร้างโคนิเดียจากconidiogenous cells ที่ถูกสร้างในconidiomata

  30. Synnemata • Conidiophores อยู่รวมกันที่ฐาน • Conidiogenous cells จะอยู่ปลายสุด • ในการเพาะเชื้อ เห็ดราบางชนิดสร้างconidiophores เดี่ยว ๆ และส่วนกลางในsynnemata • บาง species ของ genera เช่นPenicilliumจะเกิดจาก synnemata, ส่วนสปีชีส์อื่นเกิดจากconidiophores เดี่ยวๆ

  31. Sporodochium • ค่อนข้างหนาแน่น แข็ง คล้ายเบาะที่รวมกันของไฮฟาบนconidiophores ที่สร้างจากชั้นที่หนาทึบ • การรวมตัวของไฮฟาเรียกว่า stroma • ในการเพาะเชื้อเห็ดรา นี้อาจจะสร้างจาก conidiophores เดี่ยว

  32. synnemata sporodochium

  33. Hyphomycetes • Moniliaceae—conidiophores สร้างขึ้นเดี่ยวๆ ไฮฟาและโคนิเดียสีอ่อน • Dematiaceae—conidiophores สร้างขึ้นเดี่ยวๆ ไฮฟาและ/หรือ conidia มีสีเข้ม • Tuberculariaceae—conidiophores ที่รวมกันคล้ายเบาะหรือชนกันของ sporodochium • Stilbaceae—conidiophores ที่รวมกันในsynnema กลุ่มของโคนิเดียจะชูสปอร์ที่สร้างจากปลายยอด

More Related