1 / 68

การมีส่วนร่วมของประชาชน

การมีส่วนร่วมของประชาชน. ดร.ถวิลวดี บุรีกุล. การมีส่วนร่วม. สูง. มาก. การควบคุม โดยประชาชน. ติดตามตรวจสอบ. น้อย. จำนวน ประชาชน ที่เกี่ยวข้อง. ร่วมปฏิบัติ. ระดับของ การมีส่วนร่วม. ร่วมวางแผน. ปรึกษาหารือ. เปิดรับความคิดเห็น จากประชาชน. ให้ข้อมูล/รับข้อมูล. มาก. ต่ำ.

onawa
Télécharger la présentation

การมีส่วนร่วมของประชาชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การมีส่วนร่วมของประชาชนการมีส่วนร่วมของประชาชน ดร.ถวิลวดี บุรีกุล

  2. การมีส่วนร่วม

  3. สูง มาก การควบคุม โดยประชาชน ติดตามตรวจสอบ น้อย จำนวน ประชาชน ที่เกี่ยวข้อง ร่วมปฏิบัติ ระดับของ การมีส่วนร่วม ร่วมวางแผน ปรึกษาหารือ เปิดรับความคิดเห็น จากประชาชน ให้ข้อมูล/รับข้อมูล มาก ต่ำ ระดับขั้นของการมีส่วนร่วม

  4. เงื่อนไขพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของประชาชนมี 3 ประการ คือ • 1)ต้องมีอิสรภาพ • 2) ต้องมีความเสมอภาค • 3) ต้องมีความสามารถ

  5. กระบวนการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมกระบวนการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ร่วมวางแผน ร่วมติดตามตรวจสอบ ร่วมปฏิบัติ ร่วมจัดสรรประโยชน์

  6. การมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์ มีกลุ่มเป้าหมาย มีกระบวนการ

  7. องค์ประกอบของการมีส่วนร่วมมี 3 ด้าน คือ • 1)ต้องมีวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายชัดเจน • เป็นไปเพื่ออะไร ผู้เข้าร่วมจะได้ตัดสินใจถูกว่าควรเข้าร่วมหรือไม่2)ต้องมีกิจกรรมเป้าหมาย • ต้องระบุลักษณะของกิจกรรมว่ามีรูปแบบและลักษณะอย่างไร เพื่อที่ประชาชนจะได้ตัดสินใจว่าควรเข้าร่วมหรือไม่3) ต้องมีบุคคลหรือกลุ่มเป้าหมาย

  8. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  9. วิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 3ผู้สนใจ 2โดยอ้อม 1 1โดยตรง

  10. หลักธรรมาภิบาลในการจัดการทรัพยากรหลักธรรมาภิบาลในการจัดการทรัพยากร เน้นที่ประชาชน • รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เที่ยงตรง ทันการณ์และพอเพียง • สามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวก ในกรณีที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายจะต้องไม่มากเกินไปจนประชาชนธรรมดาไม่สาสารถจ่ายได้ • มีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆตั้งแต่เริ่มแรก • การได้รับการบริการที่ดี • สามารถเรียกร้องค่าเสียหายได้ ประชาชนต้อง ภาครัฐ ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม สื่อ NGOs

  11. no finger point ไม่ชี้นิ้วว่ากัน

  12. แผนการมีส่วนร่วม

  13. แผนการมีส่วนร่วม • 1วัตถุประสงค์ของแผน • 2การมีส่วนร่วม • เป้าหมาย • นโยบาย • ขั้นตอนการมีส่วนร่วม • 3 ข้อมูลที่จะเผยแพร่ • 4 การเข้าถึงกิจกรรมต่างๆของประชาชน • 5 การช่วยเหลือด้านเทคนิค • 6 การปรับปรุง แก้ไขแผน

  14. Invert the Pyramid to Improve Service ปิรามิดของการบริการ TRADITIONAL ORGANIZATION • The 5 P’s increase toward the top of the organization. • People work for the level(s) above them. • Very little attention to customer satisfaction. ผู้บริหารสูงสุด Executives Managers Supervisors Frontline Personnel ผู้รับบริการ

  15. ผู้รับบริการ CUSTOMER-ORIENTED ORGANIZATION Frontline Personnel • The customers are considered the most important to the success and survival of the organization. • The customer is the boss. People in the organization “work for” the customers. • The customers have the highest status, importance, and power. Supervisors Managers Executives Top Management

  16. ใคร

  17. International Association for Public Participationiap2

  18. Inform ให้ข้อมูล • ให้ข้อมูลแก่สาธารณชนเพื่อให้เกิดความเข้าใจในปัญหา ทางเลือกและทางออก

  19. Consult ปรึกษาหารือ • ได้รับข้อมูลย้อนกลับจากการวิเคราะห์ ทางเลือกและการตัดสินใจ

  20. Involve วางแผนร่วมกัน ทำงานร่วมกัน • ทำงานร่วมกับสาธารณชนตลอดกระบวนการเพื่อให้แน่ใจว่ามีความเข้าใจในประเด็นสาธารณะและมีการพิจารณาของความห่วงกังวลของสาธารณชน

  21. Collaborate ร่วมเป็นหุ้นส่วน • เป็นหุ้นส่วนร่วมกับสาธารณชนในแต่ละด้านของการตัดสินใจ รวมถึงการพัฒนาทางเลือกและการระบุทางออกที่เป็นที่พอใจร่วมกัน

  22. Empower ให้อำนาจแก่ประชาชน • ให้สาธารณชนเป็นผู้ตัดสินใจขั้นสุดท้าย

  23. สูง มาก การควบคุม โดยประชาชน ติดตามตรวจสอบ น้อย จำนวน ประชาชน ที่เกี่ยวข้อง ร่วมปฏิบัติ ระดับของ การมีส่วนร่วม ร่วมวางแผน ปรึกษาหารือ เปิดรับความคิดเห็น จากประชาชน ให้ข้อมูล/รับข้อมูล มาก ต่ำ ระดับขั้นของการมีส่วนร่วม

  24. รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทยรูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทย

  25. I.การยอมรับ (Adoption) การมีส่วนร่วมจะมีมากขึ้นโครงการดำเนินไปได้และจะเริ่มมีข้อมูลย้อนกลับตลอดจนให้ข้อมูลของโครงการใหม่ๆได้หากจำเป็นต้องมี

  26. การดำรงอยู่ร่วมกันอย่างพันธมิตรการดำรงอยู่ร่วมกันอย่างพันธมิตร

  27. การรักษาให้คงอยู่ (Maintenance) • การให้การศึกษาและสิ่งจูงใจอย่างต่อเนื่องจะทำให้อัตราการมีส่วนร่วมสูงอยู่เสมอ

  28. การวางแผนให้ประชาชนมีส่วนร่วมประกอบด้วยการวางแผนให้ประชาชนมีส่วนร่วมประกอบด้วย

  29. 1.สร้างความสนใจ 2.การเข้ามาเกี่ยวข้อง 3.เสนอแนวทางแก้ปัญหา 4.หาทางเลือก 5.ข้ออภิปราย, ข้อสรุป 6.ทางเลือก 7.ลงมือปฏิบัติ 8.การประเมินผล

  30. เครื่องมือ

  31. เลือกอย่างไร • วัตถุประสงค์ของการใช้เทคนิค • ระดับของการมีส่วนร่วม • ระดับของการตัดสินใจ • ขอบเขตของการตัดสินใจ • รวบรวมข้อมูล • สร้างเกณฑ์ในการตัดสินใจ • พัฒนาทางเลือก • ประเมินทางเลือก • ตัดสินใจ

  32. เกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือเกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือ • เทคนิคนี้จะทำให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างไร • ต้นทุนและทรัพยากรที่มี ที่สามารถนำมาใช้ได้ • เทคนิคนี้จะมีประสิทธิผลในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายมากน้อยแค่ไหน • ความสามารถในการใช้เทคนิคต่างๆ บุคลากรที่ต้องใช้ในการดำเนินการตามเทคนิคนี้

  33. เกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือเกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือ • มีเวลาเพียงพอที่จะทำให้ใช้เทคนิคนี้ให้สำเร็จหรือไม่ • ประสบการณ์ของความสำเร็จในการใช้เทคนิคนี้กับสถานการณ์ที่ใกล้เคียงกัน กลุ่มคนใกล้เคียงกัน • เทคนิคนี้สอดคล้องกับสิ่งที่สาธารณชนต้องการเข้ามาเกี่ยวข้อง

  34. เกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือเกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือ • เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่ • สถานการณ์ เหตุการณ์ที่อาจมีผลกระทบต่อการใช้เครื่องมือนี้ • ท่านสามารถหาความสนับสนุนจากภายในในการใช้เทคนิคนี้

  35. ตัวอย่าง Involve level วางแผนร่วมกัน ขั้นการตัดสินใจ สร้างเกณฑ์ในการตัดสินใจ

  36. เทคนิค

  37. ให้ข้อมูล • สร้างความตระหนัก • ให้ข้อมูล ให้การศึกษา

  38. สร้างความตระหนัก • โทรศัพท์ สายด่วน จุดบริการข้อมูล งานนิทรรศการ

  39. ให้ข้อมูล ให้การศึกษา • เปิดที่ทำการนอกสถานที่ • ศูนย์ข้อมูล • www • ศูนย์ข้อมูลกลาง • การสรุปข้อมูลให้ฟัง

  40. ปรึกษาหารือ • ให้ข้อมูลย้อนกลับ • จดหมายข่าว รายงานความก้าวหน้า ส่งจดหมาย e-mail • ถามรายบุคคล(รวบรวมข้อมูล) • แบบแสดงความคิดเห็น • delphi • การให้ข้อคิดเห็นของผู้อยู่อาศัย • สัมภาษณ์

  41. ทำวิจัย (รวบรวมข้อมูล) • survey • เปิดการประชุมสาธารณะ (รวมประชาชน) • ประชุมสาธารณะ • เปิดที่ทำการ • กระบวนการประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • สนทนากลุ่ม

  42. การวางแผนร่วมกัน involve • เปิดการสนทนาแบบมีส่วนร่วม • รวมประชาชน • เปิดที่ทำการ • Samoan circle • Town meeting • World cafes • Workshops • Fishbowl • กระบวนการประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • สานเสวนา

  43. ร่วมเป็นหุ้นส่วน • สร้างฉันทามติ • คณะที่ปรึกษา • กระบวนการประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • นิทรรศการเคลื่อนที่ • Study circle • computer assisted meeting • Poll • Future searches • Dialogue • Appreciative inquiry • Consensus conferences

  44. ให้อำนาจแก่ประชาชน พลังประชาชน • ให้มีเวทีให้ประชาชนได้ตัดสินใจ • รวบรวมและประมวลข้อมูล • ออกเสียง • นำประชาชนมารวมกัน ประชุมกัน • กลุ่มผู้มีอำนาจหน้าที่ • คณะตุลาการภาคประชาชน

More Related