870 likes | 1.08k Vues
การจัดการอาชีวศึกษา กับหลักสูตรฐานสมรรถนะ. นายไพฑรูย์ นันตะสุคนธ์. เป้าหมายการอาชีวศึกษา. กำลังคนเฉพาะทาง ช่างฝีมือ ช่างเทคนิค และ นักเทคโนโลยี มีปริมาณและคุณภาพในการผลิตและบริการ สอดคล้องกับความต้องการและยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ. ด้านคุณภาพการศึกษา.
E N D
การจัดการอาชีวศึกษากับหลักสูตรฐานสมรรถนะการจัดการอาชีวศึกษากับหลักสูตรฐานสมรรถนะ นายไพฑรูย์ นันตะสุคนธ์
เป้าหมายการอาชีวศึกษาเป้าหมายการอาชีวศึกษา กำลังคนเฉพาะทาง ช่างฝีมือ ช่างเทคนิค และ นักเทคโนโลยี มีปริมาณและคุณภาพในการผลิตและบริการ สอดคล้องกับความต้องการและยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ด้านคุณภาพการศึกษา • สถานศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน มีคุณภาพต่ำกว่ามาตรฐาน 65% โรงเรียนICU 17,423 แห่ง โคม่า 560 แห่ง : โรงเรียนขนาดเล็กในภาคเหนือและ ตอ./เหนือ • ผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตรต่ำในการคิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ ใฝ่รู้ มีแนวโน้มเป็นเด็กดี มีความสุข แต่ไม่เก่ง
ค่าเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชั้น ป.3 ม.3 และ ผลการสอบ o – net ต่ำกว่าร้อยละ 50 โดยเฉพาะในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ • มีความแตกต่างของคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ระหว่างเมืองกับชนบท • ผู้จบอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไม่สอดคล้องกับ ต้องการของผู้ใช้ทั้งปริมาณและคุณภาพขาดคุณลักษณะ บางด้านและทักษะความสามารถในการคิด วิเคราะห์ ภาษา คอมพิวเตอร์ การบริหารจัดการ
ขาดแคลนครูทั้งปริมาณและคุณภาพทุกระดับประเภทกว่าขาดแคลนครูทั้งปริมาณและคุณภาพทุกระดับประเภทกว่า 9 หมื่นคน • มีปัญหาครูสอนไม่ตรงวุฒิ ขาดแคลนครู อาจารย์ ในบางสาขาและพื้นที่ • ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ แต่ด้อยฝีมือด้านบริหารวิชาการ การส่งเสริมการสอน การบริหารคุณภาพ
แนวทางการพัฒนาการอาชีวศึกษาแนวทางการพัฒนาการอาชีวศึกษา • จัดหาและพัฒนาศักยภาพบุคลากรร่วมกับ สถานประกอบการในประเทศ/ต่างประเทศ/สกอ. • พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ • พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ห้องปฏิบัติการ โรงงานในโรงเรียน โรงเรียนในโรงงาน Software House • พัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพ • พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม • พัฒนาภาพลักษณ์แห่งคุณภาพอาชีวศึกษา
คุณวุฒิวิชาชีพ คือ คุณวุฒิที่จัดให้บุคคลตามความสามารถและ สมรรถนะในการปฏิบัติงาน เป็นการสร้างความเป็น เลิศทางวิชาชีพ ปัจจุบันมีแต่คุณวุฒิการศึกษา ซึ่งเป็น คุณวุฒิทางวิชาการ จึงควรมีการกำหนดร่างกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ ขึ้นดังนี้
กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (National Qualifications Framework : NQF) คุณวุฒิการศึกษา คุณวุฒิวิชาชีพ ปริญญาเอก ระดับ 7 ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ผู้บริหารระดับสูง ประกาศนียบัตรชั้นสูง ระดับ 6 ผู้เชี่ยวชาญ ผู้บริหารระดับกลาง ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิต ป. ตรี เทคโนโลยี 2 ระดับ 5 ผู้เชี่ยวชาญ ผู้บริหารระดับต้น ปริญญาตรี ป. ตรี เทคโนโลยี 1 อนุปริญญา ปวส. 2 ระดับ 4 ผู้ควบคุมดูแล หัวหน้างาน นักเทคนิค ปวส. 1 ระดับ 3 ผู้ชำนาญงาน หัวหน้างาน ม.ปลาย + ทักษะอาชีพ ปวช. 3 ปวช. 2 ระดับ 2 ผู้ปฏิบัติงานฝีมือเฉพาะทาง ปวช. 1 ระดับ 1 ผู้ปฏิบัติงานอาชีพที่ใช้ทักษะพื้นฐาน ม. ต้น + ทักษะอาชีพ
หลักสูตรการอาชีวศึกษา หลักสูตรการอาชีวศึกษา • หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น • หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ • หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง • หลักสูตรประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง • หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ • สายปฏิบัติการ
กรอบมาตรฐานหลักสูตร (16 ส.ค. 49)
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเฉพาะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเฉพาะ มีสมรรถนะในสาขาอาชีพไม่น้อยกว่าหนึ่งหน่วยสมรรถนะจากมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะตรงตามความต้องการของสาขาอาชีพ สถานประกอบการ ชุมชน มีความ สามารถในการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา ดำเนินการและตรวจสอบอย่างเป็นระบบในระดับผู้ปฏิบัติงานเฉพาะทางปฏิบัติงานอาชีพในขอบเขตที่กำหนด และนำไปพัฒนางานอาชีพ หรือการประกอบอาชีพอิสระอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีสมรรถนะที่ได้จากมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะในสาขาอาชีพระดับฝีมือตรงตามความต้องการของสาขาอาชีพ สถานประกอบการ ชุมชน มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา วางแผน ดำเนินการ ตรวจสอบและบูรณาการความรู้อย่างเป็นระบบ ในระดับผู้ปฏิบัติงานรวมทั้งเป็นผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรม และกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทำงาน
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีสมรรถนะที่ได้จากมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะในสาขาอาชีพระดับเทคนิคตรงตามความต้องการของสาขาอาชีพ สถานประกอบการและชุมชน มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา วางแผน จัดการ ตรวจสอบ ให้คำแนะนำ สอนงาน และบูรณาการความรู้อย่างเป็นระบบในระดับผู้ควบคุมงาน รวมทั้งเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทำงาน
แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ
ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานอาชีพกับมาตรฐานการศึกษาระหว่างโลกของงานกับโลกของการศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานอาชีพกับมาตรฐานการศึกษาระหว่างโลกของงานกับโลกของการศึกษา สมรรถนะที่ ต้องการ ของอาชีพ ผลลัพธ์ของ การทำงาน สมรรถนะที่ต้อง บรรลุในการเรียนรู้ ผลลัพธ์ของ การเรียนรู้ หลักสูตร สอดคล้อง กับผลลัพธ์ ของการ เรียนรู้ แปลง ถ่ายโอน มาตรฐานอาชีพ มาตรฐานสมรรถนะ (ผลลัพธ์) (กระบวนการ) มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ
หลักประกันของหลักสูตรหลักประกันของหลักสูตร • มาตรฐานสมรรถนะที่กำหนดมาจากความต้องการ • ของอุตสาหกรรมในแต่ละสาขาวิชาชีพและระดับ • คุณวุฒิจะบอกให้ทราบว่าเมื่อผู้เรียนผ่านการ • ประเมินแล้ว จะได้คุณวุฒิระดับใด วิชาชีพอะไร • แนวทางการประเมิน เป็นแนวทางสำหรับประเมิน • มาตรฐานสมรรถนะที่ผู้เรียนแต่ละคนต้องผ่าน
สมรรถนะ ( Competence ) ในบริบทของมาตรฐานอาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ และมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพซึ่งใช้กับคนนั้น จะใช้ ศัพท์ของคำ Competence ว่า “สมรรถนะ” คือ ความสามารถในการปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ที่บูรณาการกันอย่างแนบแน่นเพื่อให้เกิด ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
หลักสูตรของ สอศ. มุ่งให้ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติ งานได้ตามความต้องการของสถานประกอบการ แต่หลักสูตร ดังกล่าวเป็นเอกสารที่ระบุข้อมูลไว้เพื่อการจัดการเรียนการสอน เป็นหลักจึงไม่ได้ระบุข้อมูล ที่แสดงว่าผู้สำเร็จการศึกษา สามารถทำอะไรได้
หลักสูตร ปวช. และ ปวส. มีโครงสร้างที่ยังไม่เป็น หลักสูตรแบบฐานสมรรถนะที่สมบูรณ์ อีกทั้งในแต่ละ รายวิชายังไม่อำนวยความสะดวกในการจัดเทียบโอน ประสบการณ์ตามความต้องการของผู้เรียนได้ อย่างไร ก็ตามไม่ว่าหลักสูตรจะกำหนดไว้อย่างไรย่อมมีทางออก ในการจัดการเรียนการสอนให้เกิดสมรรถนะได้ทั้งสิ้น
สมรรถนะ ( Competence / Competency ) จะต้องมีครบ 3 องค์ประกอบ 1. ความรู้ ความเข้าใจในงานที่ทำ 2. ทักษะในการทำงานให้บรรลุผลสำเร็จ 3. กิจนิสัยหรือเจตคติในการทำงาน องค์ประกอบทั้งสามนี้อาจจะเริ่มต้นที่องค์ประกอบ ใดก็ได้ แต่ต้องบรูณาการเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีสมรรถนะ
แนวคิดหลักสูตรฐานสมรรถนะแนวคิดหลักสูตรฐานสมรรถนะ แผนการเรียน แบบฐานสมรรถนะ แผนการสอน แบบฐานสมรรถนะ
แผนการเรียนแบบฐานสมรรถนะแผนการเรียนแบบฐานสมรรถนะ เป็นการกำหนดสมรรถนะหรือความสามารถในการ ปฏิบัติงานของผู้เรียนตามแผนการเรียนในแต่ละภาค และปีการศึกษา ซึ่งถือเป็นการประกันสมรรถนะ ของผู้เรียนในแต่ละชั้นปีว่ามีทักษะความสามารถทำ อะไรได้บ้าง ทั้งนี้สามารถนำไปเป็นเป็นกรอบสมรรถนะ ในการส่งผู้เรียนเข้าฝึกงานในสถานประกอบการได้
ตัวอย่างแบบฟอร์มแผนการเรียนเน้นสมรรถนะตัวอย่างแบบฟอร์มแผนการเรียนเน้นสมรรถนะ แผนการเรียนประจำภาคเรียนที่ 1/25......
การเขียนข้อความแสดงสมรรถนะการเขียนข้อความแสดงสมรรถนะ 1. ข้อความที่เขียนจะต้องอยู่ในรูป กริยา – กรรม – เงื่อนไข ( Verb–Object–Condition) ซึ่งถือเป็นหลักสำคัญการเขียน เนื่องจากจะเป็นข้อความที่ใช้ในการสื่อสารความหมาย ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง เช่น “ นวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ ”
2. เป็นหน่วยที่มีคุณค่า และอิสระในการจ้างงาน 3. มีคุณค่าในการรับรองผลหรือเทียบโอน 4. เป็นแม่แบบของหน้าที่สำหรับการปฏิบัติงาน ต่างระดับ 5. สามารถทำสำเร็จได้ด้วยรายบุคคล
ส่วนที่ 1 กริยา แสดงการกระทำหรือแสดงสมรรถนะ การปฏิบัติการผลิตหรือบริการ ส่วนที่ 2 กรรม สิ่งที่ถูกกระทำอาจเป็นบุคคล ข้อมูล สิ่งของหรือผลิตภัณฑ์ รวมทั้งสิ่งมีชีวิตอื่นที่เกิดจาก การผลิตหรือได้รับการบริการ ส่วนที่ 3 เงื่อนไข สถานการณ์ที่ทำให้สมรรถนะมี ความชัดเจนภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว
การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เน้นสมรรถนะการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เน้นสมรรถนะ
ต้องรู้อะไร ? ก่อนทำแผนการจัดการเรียนรู้ 1. รู้เนื้อหาวิชาที่จะสอนอย่างชัดเจน - หลักสูตร (เนื้อหา, วัตถุประสงค์, เวลา) - ความสัมพันธ์กับรายวิชาอื่น - ประสบการณ์เดิมของผู้สอนและผู้เรียน - เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา
2. รู้กระบวนการเรียนรู้ของคน - วิธีสอน - สื่อการสอน 3. เครื่องมือ / อุปกรณ์ / สิ่งอำนวยความสะดวกอื่น - สื่อและเครื่องมือต่าง ๆ - เอกสารประกอบการค้นคว้า / อ้างอิง
ส่วนประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ส่วนประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 จุดประสงค์ปลายทาง 2.2 จุดประสงค์นำทาง 3. เนื้อหาสาระ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 6. การวัดและประเมินผล
แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง รายละเอียดของกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูกำหนดขึ้น อย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้า เพื่อนำ ไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ ที่ตั้งไว้
คำอธิบายรายวิชา คือการสะท้อนภาพรวมของคุณภาพผู้เรียนที่ แสดงออกด้านความรู้ ทักษะควบคู่กับคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม หลังจากผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ในแต่ละรายวิชา รวมทั้งสอดคล้องกับสภาพและ ความต้องการของท้องถิ่นและชุมชน และกำหนด จำนวนเวลา หรือจำนวนหน่วยกิตที่ใช้ในการจัด การเรียนรู้
วิเคราะห์เนื้อหาคำอธิบายรายวิชาวิเคราะห์เนื้อหาคำอธิบายรายวิชา ก่อนลงมือเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ครูจำเป็นต้องศึกษา จุดประสงค์ รายวิชา มาตรฐานรายวิชา คำอธิบายรายวิชา ตำรา เอกสารและสื่อการสอนที่เกี่ยวข้องล่วงหน้าอย่างละเอียด 1.1 พิจารณาความสัมพันธ์ 1.5 สาขาวิชา กับรายวิชาอื่น 1.6 จุดประสงค์รายวิชา 1.2 ชื่อวิชา 1.7 มาตรฐานรายวิชา 1.3 รหัสวิชา 1.8 คำอธิบายรายวิชา 1.4 หน่วยกิต - เวลา / สัปดาห์ / ภาค
ลักษณะรายวิชา 1. รหัส....................วิชา..................................หน่วยกิต (เวลา)........................... 2. ระดับชั้น........... เวลาตลอดภาคเรียน..............สัปดาห์เท่ากับ..................คาบ 3. รายวิชาที่เป็นพื้นฐาน...................................................................................... จุดประสงค์รายวิชา............... มาตรฐานรายวิชา.................. คำอธิบายรายวิชา.................. ปรับรายวิชาเป็นสมรรถนะ
จุดประสงค์ของการศึกษาเพื่อพัฒนาความเจริญงอกงามทั้ง 3 ด้าน 1. พุทธิพิสัย 2. ทักษะพิสัย 3. จิตพิสัย
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นความคาดหวังที่ต้องการให้เกิดมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อผู้เรียนเรียนจบบทเรียนแล้วมีลักษณะเป็นจุดประสงค์ทั่วไป พฤติกรรม + เงื่อนไขหรือสถานการณ์หรือเนื้อหาวิชา 1 2 - เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ
ขอบเขตของจุดประสงค์ • 1. พุทธิพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้ • 6 การประเมินค่า ( กระบวนการคิด ) • 5 การสังเคราะห์ • 4 การวิเคราะห์ • 3 การนำไปใช้ • 2 ความเข้าใจ • 1 ความรู้ความจำ
2. ทักษะพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้ • 5 ทักษะการทำจนเคยชิน • 4 ทักษะการกระทำอย่างต่อเนื่อง • 3 ทักษะที่มีความถูกต้องตามแบบ • 2 ทักษะการทำตามแบบ • 1 ทักษะการเลียนแบบ
3. จิตพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้ • 5 การสร้างลักษณะพิสัย • 4 การจัดระบบ • 3 การสร้างคุณค่า • 2 การตอบสนอง • 1 การเรียนรู้
1.................. 2.................. 3.................. 4.................. 5.................. 6.................. พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย............มีทุกวิชา จิตพิสัย.................มีทุกวิชา
การดำเนินการสร้างตารางวิเคราะห์ ลักษณะของตารางแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ ระหว่างเนื้อหากับพฤติกรรม และยังช่วยให้รู้ว่าเรื่อง ไหนเป็นเรื่องหลักของรายวิชา เรื่องไหนเป็นเรื่องรอง และเรื่องประกอบโดยมีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนการวิเคราะห์หลักสูตรโดยใช้ตารางขั้นตอนการวิเคราะห์หลักสูตรโดยใช้ตาราง 1. ผู้ทำการวิเคราะห์หลักสูตร พิจารณาเนื้อหาวิชา และพฤติกรรมให้เป็นที่เข้าใจ 2. กรอกรายการเนื้อหาวิชาที่จัดเป็นหัวข้อใหญ่ ๆ ลงตารางวิเคราะห์หลักสูตรเป็นหน่วยการเรียน
หน่วยการเรียนรู้/บทเรียนของรายวิชาหน่วยการเรียนรู้/บทเรียนของรายวิชา หมายถึงการนำความคิดรวบยอดของเนื้อหาใน คำอธิบายรายวิชามาแยกสาระต่าง ๆ / เรื่องย่อย ๆ ที่มีความสอดคล้อง / เกี่ยวข้อง / สัมพันธ์กันมาจัด ทำเป็นหน่วย
3. ให้คะแนนน้ำหนักความสำคัญของแต่ละเนื้อหาวิชา ในแต่ละพฤติกรรม โดยกำหนดช่องละ 10 คะแนน พิจารณาโดยรอบคอบเที่ยงตรง โดยยึดเกณฑ์กำหนด หน่วยน้ำหนัก ดังนี้ สำคัญที่สุด 10 คะแนน สำคัญมาก 8 – 9 คะแนน ปานกลาง 5 – 7 คะแนน สำคัญน้อย 1 – 4 คะแนน
4. นำตารางมาหาผลรวมในแต่ละช่องทางด้านขวามือ เพื่อให้ทราบลำดับความสำคัญของเนื้อหา 5. รวมน้ำหนักลงด้านล่าง (พฤติกรรม) แล้วจัดลำดับ ความสำคัญของสมรรถภาพที่จะปลูกฝัง 6. ปรับตารางเฉลี่ยให้เป็น 100 หน่วย ถ้าขาด หรือ เกินแก้ไขใหม่ให้เป็น 100 หน่วย พอดี
220 40 40100 100 220 = 18.18 18 • 40 • 24 • 36 • 12 • 48 • 40 • 20 • 220 100
4 9 40 9 18 18 40 = 4.05 5 9 10 8 8 18 • 40 • 24 • 36 • 12 • 48 • 40 • 20 • 220 100
ชั่วโมง สัปดาห์ หน่วยกิต ชั่วโมง 12 3(4) = 164 = 64 18 100 1864 64 100 = 11.52 = 12 18 • 40 • 24 • 36 • 12 • 48 • 40 • 20 • 220 100 64
หน่วยที่ ............................. เรื่อง.......................................................................................... 1. หัวข้อใหญ่ 1.1 หัวข้อรอง 1.1.1 หัวข้อย่อย 1.1.2........................................................................................ 1.2................................................................................................. 1.3................................................................................................ 2........................................................................................................ 2.1................................................................................................
รายการแบ่งหน่วยการสอน รหัส........................................วิชา.........................................................