1 / 93

Obesity and Metabolic syndrome

Obesity and Metabolic syndrome. สรีระวิทยา. ความแตกต่างในลักษณะของมนุษย์ ทำให้นักมนุษย์วิทยา จำแนกรูปกายของคนเราด้วยวิธีต่าง ที่นิยมคือวิธีของ William Sheldom ที่เรียกว่า “Sheldom Somatotyping” แบ่งออกเป็น 3 พวกใหญ่. Endomorph. Mesomorph. Ectomorph. Endomorph. เรียกกันว่า “ คนอ้วน ”.

orrick
Télécharger la présentation

Obesity and Metabolic syndrome

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Obesity and Metabolic syndrome

  2. สรีระวิทยา ความแตกต่างในลักษณะของมนุษย์ ทำให้นักมนุษย์วิทยา จำแนกรูปกายของคนเราด้วยวิธีต่าง ที่นิยมคือวิธีของWilliam Sheldom ที่เรียกว่า “Sheldom Somatotyping” แบ่งออกเป็น 3 พวกใหญ่ Endomorph Mesomorph Ectomorph

  3. Endomorph เรียกกันว่า “คนอ้วน” รูปร่าง กลม มน เนื้อนิ่ม สะโพก หน้าอก ไขมันกระจายอยู่ทั่วร่างกาย หน้าท้อง โคนขา กลม คอสั้น ใบหน้า คางสองชั้น

  4. ไหล่กว้าง อกใหญ่ ชาย เอวเล็ก Mesomorph มีโครงกระดูกค่อนข้างใหญ่กล้ามเนื้อแข็งแรง สะโพกผาย หญิง เอวคอด ลดน้ำหนักได้ไม่ยาก

  5. Ectomorph ผอม สูง กล้ามเนื้อลีบ แขน ขา และ มือเท้าผอมยาว อก ไหล่แคบ ไขมันตามตัวมีน้อย โครงกระดูกเล็ก ไม่มีปัญหาเรื่องลดน้ำหนัก

  6. ในร่างกายผู้ใหญ่ โดยทั่วไปจะมีจำนวนเซลล์ไขมันอยู่ ~ 75 พันล้านเซลล์ และไม่มีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของเซลล์ ไม่ว่าคนๆนั้นจะผอมลงหรือเพิ่มขึ้น จะมีก็แต่ปริมาณของไขมันในเซลล์เท่านั้นที่มากขึ้นหรือน้อยลง หาก exerciseน้อย ไม่มีกิจกรรมที่ต้องออกกำลังกาย กล้ามเนื้อจะลีบเล็กลง จะมีไขมันเข้ามาแทนที่มากขึ้น

  7. วิธีการวัดหาปริมาณไขมันในร่างกายแบบง่ายๆ คือ ~ ½ ของไขมันที่สะสมในตัวเรา จะอยู่ตามบริเวณผิวหนัง ถ้าเราวัดหาปริมาณของไขมันตามใต้ผิวหนังได้ เราก็สามารถที่จะคำนวณหาปริมาณของไขมันทั้งหมดในร่างกายได้ วิธีที่สะดวกคือ การวัดความหนาของหลืบผิวหนัง (Skin fold measurement)

  8. การวัดความหนาของหลืบผิวหนังการวัดความหนาของหลืบผิวหนัง ทำโดย ห้อยแขน ใช้หัวแม่มือ + นิ้วชี้ จับผิวหนังตรงกึ่งกลางด้านหลังของท้องแขน บีบเข้าหากัน เมื่อวัดได้แล้วนำมาเปรียบเทียบกับตารางเพื่อหาปริมาณไขมัน

  9. ช. ไม่ควรเกิน 12-15% 20% ญ. ไม่ควรเกิน 18-20% 25% ตารางเปรียบเทียบความหนาของหลืบผิวหนัง ความหนาของหลืบผิวหนัง ร้อยละของปริมาณไขมันโดยประมาณ (คิดเป็นนิ้ว) ชาย หญิง ¼ 5-9% 8-13% ½ 9-1313-18% ¾ 13-18% 18-23% 1 18-23% 23-28% 1 ¼ 22-27%28-33%

  10. สาเหตุของโรคอ้วน • พันธุกรรม ถ้าพ่อแม่เป็นโรคอ้วน ลูกที่เกิดมาก็มีโอกาสเป็นโรคอ้วนสูง -Monogenic gene defects: leptin gene or leptin receptor mutation -Polygenic gene defects 2. รับประทานอาหารมากเกินไป แล้วไม่มีเวลาออกกำลังกาย กล่าวคือ พลังงานที่ได้รับจากการรับประทานมากกว่าพลังงานที่ใช้ไปในการออกกำลังกาย เช่น ชอบรับประทานอาหารที่มีไขมันและแคลอรี่สูง เช่น หนังไก่ทอด มันหมู หมูสามชั้น ขาหมู ครีม เค้ก ฯลฯ แล้วไม่ยอมหาเวลาว่างออกกำลังกายเพื่อให้มีการใช้พลังงานที่ได้รับเข้ามา

  11. 3. พฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสมทำให้มีการใช้พลังงานต่ำ และทำให้เสียโอกาสในการทำกิจกรรม หรือออกกำลังกายที่มีประโยชน์ต่อ สุขภาพ เช่น การจราจรติดขัดในกรุงเทพ ทำให้คนส่วนใหญ่ต้องนั่งเฉยบนรถยนต์หลายชั่วโมงต่อวัน ลักษณะงานที่ต้องนั่งทำงานตลอดเวลา พฤติกรรมชอบรับประทานอาหารจุกจิก เป็นต้น 4. โรคบางชนิด เช่น Cushings Syndrome ซึ่งจะทำให้ร่างกายของผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้อ้วน โดยสาเหตุของโรคนี้เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย จนทำให้อ้วนบริเวณใบหน้า ลำตัว ต้นคอด้านหลัง แต่แขนขาจะเล็ก และไม่มีแรง ในกรณีนี้จะต้องรักษาที่ต้นเหตุคือ ฮอร์โมนที่มีความผิดปกติจึงจะสามารถหายอ้วนได้ 5. ยาบางชนิด เช่น antidepressant, antipsychotic, glucocorticoid, antihistamine

  12. Fat distribution - central obesity (android or apple shape) • - peripheral obesity (gynoid or pear shape)

  13. Body fat distribution

  14. การคำนวณหาดัชนีมวลกาย Body Mass Index or BMI • BMI = น้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัม / ส่วนสูงเป็นเมตร2 =น้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัม / ส่วนสูง(เมตร)×ส่วนสูง(เมตร)

  15. ภาวะโภชนาการต่อค่าดัชนีมวลกาย ขององค์การอนามัยโลก(WHO 1998) • ผอม < 18.5 • ปกติ 18.5 – 24.9 • ท้วม 25.0 – 29.9 • อ้วนระดับ 1 30.0 – 34.9 • อ้วนระดับ 2 35.0 – 39.9 • อ้วนระดับ 3 > 40.0

  16. ภาวะโภชนาการต่อค่าดัชนีมวลกาย ของชาวเอเชีย • ผอม<18.5 • ปกติ 18.5 – 22.9 • เริ่มอ้วน 23.0–24.9 • อ้วนขั้นที่ 1 25.0 – 29.9 • อ้วนขั้นที่ 2 30.0 - 34.9 • อ้วนขั้นที่ 335.0 – 39.9 • อ้วนอันตราย >40.0

  17. การหาน้ำหนักมาตรฐาน(Ideal Body Weight,IBW ) • Male =Height –100=IBW • Female =(Height –100) -10%=IBW

  18. โรคอ้วนลงพุง Metabolic syndrome • คือกลุ่มความผิดปกติที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งพบร่วมกันได้บ่อย ความผิดปกติดังกล่าวได้แก่ความผิดปกติของไขมันในเลือด ความดันโลหิต ระดับน้ำตาล ตลอดจนปัจจัยที่เป็น prothrombotic และ proinflammatory

  19. ระบาดวิทยาของ metabolic syndrome • ความชุกของ metabolic syndrome ขึ้นอยู่กับอายุ เชื้อชาติและเพศ อายุมากขึ้นจะมีความชุกเพิ่มขึ้น • การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่าความชุกของโรคนี้พบได้ประมาณร้อยละ 25 ของประชากรทั้งประเทศ • เชื้อชาติ Mexican-American จะมีความชุกมากกว่า African-American • ในคน Caucasians ด้วยกันเองชาวอเมริกันจะพบว่าความชุกของภาวะนี้มากกว่าชาวยุโรป เนื่องจากโรคอ้วนพบในชาวอเมริกันมากกว่าชาวยุโรป

  20. ระบาดวิทยาของ metabolic syndrome • ข้อมูลความชุกของกลุ่มโรคนี้ในประเทศไทยจากการศึกษา Interasia โดยศึกษาในประชากรไทยทั่วประเทศที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปจำนวน 5,091 ราย • พบความชุกร้อยละ 21.9 โดยใช้เกณฑ์ของ NCEP ATPIII แต่ถ้าใช้เกณฑ์เส้นรอบเอวของคนเอเชียใน NCEP ATPIII ความชุกจะเพิ่มเป็นร้อยละ 29.3 • เพศหญิงจะพบมากกว่าเพศชายโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ • ความผิดปกติในแต่ละข้อของ metabolic syndrome พบว่าที่พบได้บ่อยมากที่สุดคือ ภาวะที่ระดับ เอช-ดี-แอล โคเลสเตอรอลต่ำ ซึ่งพบได้มากกว่าร้อยละ 50

  21. ระบาดวิทยาของ metabolic syndrome • การศึกษาในผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวานที่อายุมากกว่า 20 ปีขึ้นไปจำนวน 1623 คนทั่วประเทศ อายุเฉลี่ย 43 ปี พบภาวะนี้ร้อยละ 24.1 (เพศชาย 22.2 และเพศหญิง 24.7)ถ้าใช้เกณฑ์การวินิจฉัยของ NCEP ATPIII และร้อยละ 33.3 (เพศชาย 36.0 และเพศหญิง 32.6)ถ้าใช้เกณฑ์ของเส้นรอบเอวของคนเอเชียใน NCEP ATPIII • การศึกษาดังกล่าวยังพบความชุกของ metabolic syndrome ในโรคและผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงดังนี้ โรคอ้วน (BMI >30 kg/m2) ร้อยละ 38.2 โรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 34.2 ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (ไตรกลีเซอไรด์มากกว่า 200 มก./ดล. หรือ เอช-ดี-แอล โคเลสเตอรอลน้อยกว่า 40 มก./ดล.) • ร้อยละ29.4 ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือเคยคลอดบุตรมีน้ำหนักเกิน 4 กิโลกรัม ร้อยละ 17.9 ผู้ที่มีประวัติครอบครัวสายตรงเป็นโรคเบาหวานร้อยละ 14.1

  22. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคอ้วนลงพุง Metabolic syndrome- IDF 2005 • จะต้องเป็นอ้วนชนิดลงพุง กล่าวคือมีเส้นรอบเอวมากกว่า 90 ซม. 80 ซม.ในชายและหญิงตามลำดับ และมีภาวะดังต่อไปนี้อย่างน้อย 2 ข้อ • ความดันโลหิตมากกว่า 130/85 ,ผู้ที่ได้รับยารักษาความดันโลหิตสูง • ระดับ Triglyceride มากกว่าหรือเท่ากับ150 mg% ,หรือผู้ที่เป็นไขมันสูงและได้รับยาลดไขมัน • ระดับ HDL น้อยกว่าหรือเท่ากับ 40,50 mg%สำหรับชายและหญิง ,หรือผู้ที่เป็นไขมันสูงและได้รับยาลดไขมัน • ระดับน้ำตาลมากกว่าหรือเท่ากับ 100 mg% หรือผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานชนิดที่2

  23. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคอ้วนลงพุง Metabolic syndrome-NCEP ATPIII เกณฑ์ของ NCEP ATPIII ในการวินิจฉัย metabolic syndrome จะต้องมีความผิดปกติอย่างน้อย 3 ข้อใน 5 ข้อต่อไปนี้ ได้แก่ 1.อ้วนลงพุง (เส้นรอบเอวมากกว่าหรือเท่ากับ 102 ซม. หรือ 40 นิ้วในผู้ชาย หรือ มากกว่าหรือเท่ากับ 88 ซม.หรือ 35 นิ้วในผู้หญิง) 2.ระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด > 150 มก./ดล. 3. ระดับ เอช-ดี-แอล โคเลสเตอรอล < 40 มก./ดล.ในผู้ชาย หรือ < 50 มก./ดล.ในผู้หญิง 4.ความดันโลหิต > 130/85 มม.ปรอท หรือรับประทานยาลดความดันโลหิตอยู่ 5.ระดับน้ำตาลขณะอดอาหาร > 110 มก./ดล.

  24. ประเทศ/กลุ่มประเทศ รอบเอว ชาย หญิง • ประเทศในกลุ่มยุโรป(อเมริกาใช้ 102,88 ซม) 94 80 • ประเทศในเอเชียใต้(จีน อินเดีย มาเลเซีย) 90 80 • ประเทศญี่ปุ่น 85 90

  25. วิธีการวัด • ใช้สายเมตรธรรมดา • วัดรอบเอวเหนือสะโพก • ให้สายขนานกับพื้น • อย่าให้สายรัดแน่เกินไป • วัดขณะที่หายใจออกเต็มที่

  26. สาเหตุของโรค Metabolic syndrome • สาเหตุที่แท้จริงคาดว่าน่าจะเกิดจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน และความอ้วน • การเกิดภาวะนี้ขึ้นกับพันธุกรรมของแต่ละประเทศ และเชื้อชาติทำให้ระดับอ้วนลงพุ่งไม่เท่ากัน ขึ้นกับการวิจัยของแต่ละประเทศว่าค่าเส้นรอบเอวควรจะเป็นเท่าใด ตารางข้างล่างแสดงเส้นค่ารอบเอวของบางประเทศ สำหรับประเทศไทยใช้เกณฑ์ประเทศในเอเซียใต้ • อาหารที่เรารับประทาน • พฤติกรรมการดำรงชีวิต

  27. กลไกการเกิด Metabolic syndrome • เนื่องจากร่างกายของผู้ที่เป็นโรคนี้มีความดื้อต่ออินซูลิน ทำให้ตับอ่อนต้องสร้างอินซูลินในปริมาณที่มากเพื่อรักษาระดับน้ำตาลในกระแสเลือด เมื่อเวลาผ่านไปตับอ่อนไม่สามารถที่จะสร้างอินซูลินได้อย่างเพียงพอจึงเกิดเบาหวาน การเกิด Metabolic syndrome จะเกิดก่อนการเกิดโรคเบาหวานภาวะดังกล่าวจะมีอินซูลินมากซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาไขมันในเลือดสูง ทำให้เกิดการทำลายของเยื่อบุผิวหลอดเลือด รวมทั้งมีผลต่อไต

  28. ความอ้วนสัมพันธ์กับการเกิดโรคหลายชนิดความอ้วนสัมพันธ์กับการเกิดโรคหลายชนิด • ปัญหาเกี่ยวกับหัวใจ ซึ่งได้แก่ โรคหลอดเลือดและหัวใจ เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดโคโรนารี -โรคเกี่ยวกับถุงน้ำดี (gallbladder disease)เช่น นิ่วในถุงน้ำดี โรคกรดไหลย้อน -โรคเกี่ยวกับตับ เช่น ตับแข็ง (cirrhosis) ไขมันเกาะตับ ตับอ่อนอักเสบ -มะเร็ง เช่น มะเร็งลำไส้ใหญ่ ปากมดลูก เยื่อบุมดลูก ต่อมลูกหมาก มดลูก รังไข่ เต้านม ถุงน้ำดี ตับอ่อน -โรคทางเดินหายใจและปอด เช่น พังผืดในปอด (fibrosis) หายใจลำบากขณะนอนหลับ (OSA) นอนกรน (snoring)

  29. -โรคเกี่ยวกับไต เช่น นิ่ว ไตวายจากความดันโลหิตสูง -โรคกระดูกและข้อต่อ โรคข้อต่อเสื่อม (os-teoarthritis in joints) โดยเฉพาะบริเวณสะโพก หัวเข่าข้อศอก -โรคเก๊าท์ (gout) -โรคเบาหวาน (diabetes mellitus) -เส้นเลือดในสมองแตกหรืออุดตัน (stroke) -ซึมเศร้า (depression) -เส้นเลือดขอด (varicose vein) -เหงื่อออกมาก (sweating) -การเป็นหมัน (infertility)ประจำเดือนผิดปกติ กลั้นปัสสาวะลำบาก

  30. UpdateMetabolic syndrome • จากการศึกษาล่าสุดพบว่า ภาวะ Metabolic syndrome มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรค vascular dementia , chronic hepatitis B

  31. Evaluationandassessment 1.Anthropometrics : Ht , Wt ,BMI ,waist circumference 2.Medical history and P.E. : cause and complication 3.Family history of obesity & related disease 4.Current medication that may cause Wt gain 5.Psychological assessment

  32. 6.Nutritional assessment -Wt history , onset of obesity -highest and lowest adult Wt -pattern of Wt gain or Wt loss -environmental triggers -diet history , current eating pattern -exercise history -motivation and readiness to loss Wt

  33. 7.Laboratory test -CBC , blood glucose , electrolyte - liver function test - TFT - fasting lipid - EKG at risk pt. or male age>45 yr female age >55 yr

  34. Provider Goalsfor Successful Obesity Treatment • Encourage weight loss • 5 -10% of body weight • Rate of loss: 0.5-1 kg per week • Prevent weight gain • Maintain healthy weight over long term

  35. Modest Weight Reduction Improves Health 5-10% loss of initial body weight IMPROVES: • Hypertension1 • Lipid abnormalities2 • Glycemic control3 REDUCES: • Cardiac events, CVD-related mortality, and all-cause mortality4 • Diabetes-associated mortality5 • Risk of developing type 2 diabetes6 1. Tuck ML, et al. N Engl J Med. 1981;304:930-933. 2. Dattilo AM, Kris-Etherton PM. Am J Clin Nutr. 1992;56:320-328. 3. Wing R, et al. Diabetes Care. 1987;10:563-566. 4. Singh RB, et al. BMJ. 1992;304:1015-1019. 5. Williamson DF, et al. Am J Epidemiol. 1995;141:1128-1141. 6. DPP Res Group. N Engl J Med. 2002;346:393-403.

  36. Guide for Selecting TreatmentBased on BMI BODY MASS INDEX (BMI) 25-26.9 27-29.9 30-34.9 35-39.9 >40 DIET, PHYSICAL ACTIVITY * *    and BEHAVIOR THERAPY PHARMACOTHERAPY *    SURGERY *  *With Comorbidities Always use as an adjunct to diet and physical activity NHLBI Practical Guide. Oct 2000 Table 3, pg25

  37. Treatment Options DIET Physical Activity Pharmacotherapy Surgery

  38. NHLBI Recommended Nutrient Content of a Weight-Reducing Diet Protein15% Fat30% FATTY ACIDS 8%–10% Saturated 10% Polyunsaturated 15% Monounsaturated Carbohydrate 55% Cholesterol: <300 mg/dFiber: 20–30 g/d National Heart, Lung and Blood Institute, The Evidence Report, June 1998 http://www.nhlbi.nih.gov/nhlbi/nhlbi.htm

  39. Calories Count Energy Expenditure • One pound (0.5 kg) of body fat = 3500 kcal • To lose 0.5 kg / week • Decrease caloric intake by 500 kcal / day • To lose 1 kg / week • Decrease caloric intake by 1000 kcal / day Energy Intake To lose weight, energy intake must be reduced

  40. Dietarychange 1. Low-calorie diets (LCDs) - reduce intake by 500-1000 kcal/day to produce 0.5-1 kg/week. -Diets: low in Sat fat, fat intake < 30% of total calories, low in simple sugar, sufficient protein and high in fruits and vegetables.

  41. Dietarychange 2. Very-low-calorie diets (VLCDs) - 250-800 kcal/day - For rapid improvement of sleep apnea, BG level, BP and psychological jump start or preparation for bariatric surgery - Require intensive medical monitoring, vitamin and mineral supplement. - Protein sparing modified fast, liquid meal replacement

  42. 1.คำนวณพลังงานที่ใช้ต่อวันในภาวะร่างกายปกติ ด้วยสูตร BMRในภาวะปกติถ้าเราอยู่เฉยๆ เพียงแค่เดินไปเดินมา นั่งๆ นอนๆ อ่านหนังสือ ดูทีวี ร่างกายเราจะใช้พลังงานประมาณ 1600-2400 แคลอรี่ โดยขึ้นอยู่กับน้ำหนัก ส่วนสูง อายุ เพศ และโครงสร้างของร่างกาย เรียกการใช้พลังงานในภาวะปกตินี้ว่า Basal Metabolism Rate (BMR) โดยมีสูตรดังนี้สำหรับผู้ชาย BMR = 66 + (13.7 x น้ำหนักตัวเป็น กก.) + (5 x ส่วนสูงเป็น ซม.) - (6.8 x อายุ)สำหรับผู้หญิงBMR = 665 + (9.6 x น้ำหนักตัวเป็น กก.) + (1.8 x ส่วนสูงเป็น ซม.) - (4.7 x อายุ)

  43. ตัวอย่างเช่น • ผู้หญิง อายุ 23 ปี ส่วนสูง 158 ซม. น้ำหนัก 46.5 กก.BMR จะเท่ากับ 665 + (9.6 x 60) + (1.8 x 165) - (4.7 x 35) = 1290.7 แคลอรี่

  44. 2.คำนวณพลังงานที่ใช้เมื่อมีการทำกิจกรรมเพิ่มเติมในแต่ละวันจากค่า BMR หากเรามีีกิจกรรมที่ต้องใช้พลังงาน หรือกิจกรรมการออกกำลังกายเพิ่มเติม ร่างกายก็จะมีการเผาผลาญพลังงานเืพื่อนำมาใช้มากขึ้น ซึ่งเราสามารถคำนวณพลังงานที่เราใช้เมื่อมีกิจกรรมเพิ่มเติมได้จากสูตรดังต่อไปนี้2.1 นั่งทำงานอยู่กับที่ และไม่ได้ออกกำลังกายเลย = BMR x 1.22.2 ออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาเล็กน้อย ประมาณอาทิตย์ละ 1-3 วัน = BMR x 1.3752.3 ออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาปานกลาง ประมาณอาทิตย์ละ 3-5 วัน = BMR x 1.552.4 ออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาอย่างหนัก ประมาณอาทิตย์ละ 6-7 วัน = BMR x 1.7252.5 ออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาอย่างหนักทุกวันเช้าเย็น = BMR x 1.725

More Related