220 likes | 951 Vues
การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย *. ผศ.จุฑามาศ ทวีไพบูลย์วงษ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ jutamard@src.ku.ac.th. บทความวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทยและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างยั่งยืน
E N D
การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย*การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย* ผศ.จุฑามาศ ทวีไพบูลย์วงษ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ jutamard@src.ku.ac.th บทความวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทยและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างยั่งยืน โครงการวิจัยทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2551
ความสำคัญและที่มาของปัญหาความสำคัญและที่มาของปัญหา • การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรเป็น กิจกรรมหนึ่งในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่ให้ประโยชน์ใน 2 ทาง (Torrington and Chapman, 1983)
วัตถุประสงค์การวิจัย • ศึกษาการปฏิบัติด้านการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรของกิจการในประเทศไทย • ศึกษาคุณลักษณะของแรงงานที่เป็นที่ต้องการของสถานประกอบการ
วิธีดำเนินการวิจัย • การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ • การสำรวจ • การสัมภาษณ์เชิงลึก • ประชากร • วิสาหกิจในประเทศไทยปี 2549 มีทั้งสิ้น 2,287,057 แห่ง
เล็ก กลาง ใหญ่ ? วิสาหกิจขนาดย่อม วิสาหกิจขนาดกลาง
จำนวนวิสาหกิจในประเทศไทย (2549) ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, 2550.
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) • กลุมตัวอยาง • วิสาหกิจทั้ง 3 ขนาดในทั้งภาคการผลิต และภาคการค้าและบริการ • จำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 800 ตัวอย่าง • พื้นที่ • กรุงเทพมหานคร • ภาคกลาง : ชลบุรีสุพรรณบุรี • ภาคเหนือ : เชียงใหม่ พิษณุโลก • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี • ภาคใต้ : สงขลา สุราษฎร์ธานี
วิธีดำเนินการวิจัย • เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการทดสอบเครื่องมือ • แบบสอบถาม • สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น = 0.8948 • การวิเคราะห์ข้อมูล • Descriptive statistics • Inferential statistics
ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถาม ตำแหน่งงานผู้ตอบ อายุงานผู้ตอบ ระดับการศึกษาผู้ตอบ
ข้อมูลทั่วไปของกิจการข้อมูลทั่วไปของกิจการ กลยุทธ์ระดับองค์การ ผู้ถือหุ้นของกิจการ
เครื่องมือที่ใช้เพื่อการคัดเลือกเครื่องมือที่ใช้เพื่อการคัดเลือก • กิจการใหญ่ใช้คัดเลือกโดยใช้เครื่องมือมากกว่ากิจการขนาดเล็กกว่า • ใช้การสัมภาษณ์มากที่สุด 89.5% ใช้แบบทดสอบ 64.4%
การทดสอบส่วนใหญ่ถูกใช้ในกิจการขนาดเล็กน้อยกว่ากิจการขนาดใหญ่อย่างมีนัยสำคัญการทดสอบส่วนใหญ่ถูกใช้ในกิจการขนาดเล็กน้อยกว่ากิจการขนาดใหญ่อย่างมีนัยสำคัญ การทดสอบที่ใช้ในการคัดเลือก
สรุปผลการทดสอบสมมติฐานสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน * หมายถึง แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
การทดสอบที่ใช้ในการคัดเลือก (ต่อ) • แบบทดสอบถูกใช้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ • กิจการที่มีขนาดใหญ่ใช้มากกว่ากิจการขนาดเล็ก • ภาคการค้าและบริการ ทดสอบบุคลิกภาพ 71.1% ภาคการผลิต 56.1% • การผลิตทดสอบความถนัด 61.5%การค้าและบริการ 38.3% • การผลิตทดสอบความสนใจ 64.9%การค้าและบริการ 55.7% • ภาคการค้าและบริการ ทดสอบผลสัมฤทธิ์ 15.4% ภาคการผลิต 8.0%
การปฏิบัติด้านการสรรหา & คัดเลือก • วิธีการสรรหาเหมาะสมกับงาน • มีความยุติธรรมในการคัดเลือก • การสรรหามีผู้สมัครมากเพียงพอ • ผลการทดสอบผู้สมัครสามารถพยากรณ์ผลการทำงานในอนาคตได้ • ผู้ทำการคัดเลือกมีอิสระในการตัดสินใจ • การคัดเลือกบุคลากรให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้นพิจารณาตามความสามารถ
การปฏิบัติด้านการสรรหา & คัดเลือก หมายเหตุ: ** หมายถึงแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญอย่างยิ่งที่ระดับ 0.01 * หมายถึงแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 a b หมายถึงมีความแตกต่างรายคู่อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
คุณลักษณะบุคคลที่กิจการต้องการคุณลักษณะบุคคลที่กิจการต้องการ • คุณสมบัติที่ต้องการในระดับมากที่สุด • กิจการขนาดใหญ่ต้องการผลการเรียนและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มากกว่ากิจการที่มีขนาดเล็กกว่า • กิจการขนาดกลางให้ความสำคัญกับ IQ และ EQ
อภิปรายผลการศึกษา เทียบกับการศึกษาในต่างประเทศ • ส่วนใหญ่ใช้การสัมภาษณ์ (ร้อยละ 89.5 และเป็นร้อยละ 100 ในกิจการขนาดใหญ่) • เครื่องมือที่ใช้ในการคัดเลือกในกิจการขนาดใหญ่มีความหลากหลายมากกว่ากิจการขนาดเล็ก
ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษา • สถานศึกษาเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะพื้นฐานตามที่กิจการต้องการ • กิจการพิจารณาใช้เครื่องมืออื่นๆ ที่มีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ ประกอบการใช้การสัมภาษณ์ • การเลือกใช้แบบทดสอบตามความจำเป็น
ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาต่อไปข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาต่อไป • การสรรหาและคัดเลือกบุคลากรในประเทศไทยในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน • ผลที่เกิดตามมาจากการมีสภาพการสรรหาบุคลากรเป็นไปอย่างยุติธรรม เพื่อยืนยันความจำเป็นในการสร้างความตระหนักต่อการปฏิบัติอย่างยุติธรรมต่อบุคลากรในกิจการ