1 / 22

นโยบายเร่งรัดการพัฒนางานด้านสุขภาพ ระดับพื้นที่

นโยบายเร่งรัดการพัฒนางานด้านสุขภาพ ระดับพื้นที่. กลุ่มงานควบคุมโรค. แนวทางการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง. เร่งรัด ค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง พร้อมแจ้งรายชื่อตำบล หมู่บ้านเป้าหมายที่จะดำเนินการระยะที่ ๑ ดังนี้

ownah
Télécharger la présentation

นโยบายเร่งรัดการพัฒนางานด้านสุขภาพ ระดับพื้นที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายเร่งรัดการพัฒนางานด้านสุขภาพนโยบายเร่งรัดการพัฒนางานด้านสุขภาพ ระดับพื้นที่ กลุ่มงานควบคุมโรค

  2. แนวทางการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เร่งรัด ค้นหาผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง พร้อมแจ้งรายชื่อตำบล หมู่บ้านเป้าหมายที่จะดำเนินการระยะที่ ๑ ดังนี้ ระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ดังนี้ ๑.๑ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่ทุกแห่ง ดำเนินการทุกหมู่บ้าน ๑.๒ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเครือข่าย (ขนาดเล็กและกลาง) และรพช. ดำเนินการแห่งละ ๑ หมู่บ้าน/ชุมชน ๑.๓ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง ของ รพท.,รพช. ดำเนินการศูนย์ละ ๑ ชุมชน ๑.๔ อำเภอหนองเสือเป็นอำเภอต้นแบบดำเนินการทุกรพสต. ทุกหมู่บ้าน

  3. หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินการ ดังนี้ ๑. คัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงของประชาชน อายุ ๑๕-๖๕ ปี • ครอบคลุม ๑๐๐% เพื่อนำไปประมวลหาค่าความชุก(Prevalence rate)และอัตราการเกิดโรค(กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย(สีเหลือง ส้ม แดง) ๒. จำแนกสีตามความรุนแรงของโรค โดยใช้สี ๗ สี พร้อมบอกจำนวนคนของแต่ละสี

  4. 3. ดำเนินการดูแล รักษา บันทึกลงสมุดสุขภาพประจำตัวผู้ป่วย DM,HT ทุกเดือน สำหรับกลุ่มป่วยสีเหลือง สีส้ม สีแดง สำหรับกลุ่มเสี่ยง (สีเขีวยอ่อน) และกลุ่มปกติสีขาว, สีเขียวแก่ ดำเนินการ เฝ้าระวังทุก ๖-๑๒ เดือน • สรุปผลการดำเนินงานตามสรุปแบบรายงานNCD ๑-๔ เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการดำเนินงาน • NCD ๑ แบบรายงานรายบุคคล ระดับหมู่บ้าน ส่งตำบล • NCD ๒ แบบรายงานระดับตำบล ส่งอำเภอ • NCD ๓ แบบรายงานแยกรายสถานบริการระดับอำเภอส่งจังหวัด • NCD ๔ แบบรายงานแยกรายอำเภอระดับจังหวัดส่งสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

  5. ๒. การลดความแออัดอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ๒.๑ รพท.รวบรวมและจำแนกผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ OPD รายอำเภอ เพื่อกระจายผู้ป่วยลงสู่ รพช. และรพสต.ยกเว้นผู้ป่วยรายที่มีความรุนแรง/โรคแทรกซ้อน ซึ่งอายุรแพทย์ต้องดูแลที่ รพท.เอง ทั้งนี้ให้เป็นไปตามมติ Board โรคเรื้อรัง ของโรงพยาบาล ๒.๒ รพช.รวบรวม จำแนกผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ OPD รายตำบล เพื่อกระจายผู้ป่วยลงสู่ รพสต. โดยให้เป็นไปตามมติของแพทย์ หรือคณะกรรมการ โรคเรื้อรังของโรงพยาบาล ทั้งนี้ รพช.จะมีผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒ ยอด คือ - ผู้ป่วยที่ รพท.ส่งมา - ผู้ป่วยของ รพช.เองที่จะต้องบริหารจัดการกระจายลง รพสต.ต่อไป

  6. ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่กระจายลงสู่ รพช. รพสต.(ตามข้อ๒) และมีการจำแนกสี ๗ สี แล้วให้ รพช. รพสต. จัดเข้าระบบการดูแลผู้ป่วยตามแนวทางการดูแลเป็นระบบเดียวกันอย่างต่อเนื่องทั้งในสถานบริการและชุมชน • แจ้งรายชื่อตำบล หมู่บ้าน (พิ้นที่เป้าหมาย) ที่จะดำเนินการระยะที่ ๑ ส่งกลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี ภายในวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๖ โทรสาร ๐๒-๕๘๑๐๑๕๙

  7. รายละเอียดตัวชี้วัด ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์> 95% วัยเด็ก • ปชช.อายุ 15ปีขึ้นไปได้รับคัดกรองDM/HT > 90% • ปชช.กลุ่มเสี่ยง DM/HT ได้รับการปรับพฤติกรรม 3อ2ส > 50% • รพสต./รพช./รพท. มีคลิกนิก NCD คุณภาพ > 70% • สตรีอายุ 30-60 ปี คัดกรองมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก> 80% วัยรุ่น วัยทำงาน วัยสูงอายุ

  8. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อเบาหวาน (Pre-DM) ปี 2555 ป่วยเป็นเบหวานในปี 2556 ไม่เกินร้อยละ 5 • ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง (Pre-HT) ปี 2555 ป่วยเป็นความดันโลหิตสูง ในปี 2556 ไม่เกินร้อยละ 5 • ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี > 50% • ผู้ป่วย HT ควบคุมความดันโลหิตได้ดี HT> 40% DHS

  9. NCD คุณภาพ หมายถึง คลินิกหรือศูนย์ที่บริหารจัดการและดำเนินการทางคลินิก ให้เกิดกระบวนการจัดการโรคเรื้อรัง เกณฑ์ ๕ กระบวนการหลัก ได้แก่ ๑. มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (กรรมการ/มีเครือข่ายดูแลโรค/มีแนวทางการ รับส่งต่อ /มีDM / HT C.aseManager/มี นสค.) ๒. มีระบบสารสนเทศ ( มีระบบจัดการข้อมูล/วิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล) ๓. มีการปรับระบบบริการ(คัดกรองค้นหารายใหม่/รักษา/ตรวจภาวะแทรกซ้อน/ ใช้CPG/เยี่ยมบ้าน) ๔. มีระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง(3อ.2ส./มีชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง) ๕. เชื่อมโยงชุมชน (มีชมรมสุขภาพ/ดูแลผู้ป่วยโดยอสม./แลกเปลี่ยนเรียนรู้)

  10. การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดปทุมธานี ปี ๒๕๕6

  11. แนวทางการดำเนินงานปี 2556 • ด้านนโยบาย • ขับเคลื่อนเครือข่าย ผ่านทางนโยบาย • 1.1 ตัวชี้วัดคำรับรองฯ ของจังหวัด • 1.2 ตัวชี้วัดคำรับรองฯ ของกระทรวงสาธารณสุข • 1.3 ตัวชี้วัดการประเมินเป้าหมายมาตรฐานการจัดบริการสาธารณะ • ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • 1.4 กลไกอื่นๆ เช่น บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ประเด็นการตรวจ • ราชการ

  12. ด้านนโยบาย 2 ขับเคลื่อนการดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายระดับนโยบาย ลงสู่พื้นที่: แผนแม่บทการสนับสนุนอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน พ.ศ.2556-2560 3. ขยายความร่วมมือเครือข่ายเพื่อสร้างระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคแบบครบวงจร 4. จัดทำทำเนียบต้นแบบความสำเร็จของการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนภาพรวมของประเทศ (National good practice lists) ตามประเด็นโรคและภัยสุขภาพ 5. ติดตามกำกับ ประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

  13. เกณฑ์ประเมินตนเอง 5 ด้าน เหมือนปี 2554

  14. - ปีที่สามนี้ กรมควบคุมโรคได้มีการพัฒนาปรับปรุงเกณฑ์คุณลักษณะให้มีความเหมาะสมและทันสมัยตามข้อมูลที่พบจากการดำเนินงานในปีที่สอง โดยเฉพาะคุณลักษณะที่ 2 และ 3 (มีระบบระบาดวิทยาที่ดีและมีการวางแผน กำกับติดตามและประเมินผลการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ) ปรับรายละเอียดให้มีความชัดเจนขึ้น • - เพิ่มตัวชี้วัดใหม่ คือโรคมือเท้าปากเนื่องจากมีการระบาดใหญ่ในปี 2555 ในหลายพื้นที่ - ปรับตัวชี้วัดผลสำเร็จรายโรคใหม่ได้ แก่ โรคเอดส์ (เปลี่ยนใหม่) โรคไข้เลือดออก (เพิ่มความครอบคลุม)

  15. รายละเอียดการประเมินคุณลักษณะที่ 5ผลสำเร็จของการควบคุมโรค

  16. ขั้นตอนการประเมินฯ ปี 2556 1. ประเมินตนเอง โดยคณะกรรมการฯระดับอำเภอ 2. ประเมินยืนยันผลการประเมินตนเองของอำเภอ โดยสสจ. 3. ประเมินรับรองการผ่านเกณฑ์ฯ โดย สคร.

  17. สิ่งที่อำเภอต้องรีบดำเนินการสิ่งที่อำเภอต้องรีบดำเนินการ • ประชุมคณะกรรมการฯ • เตรียมเอกสาร หลักฐานต่าง ๆ • ประเมินตนเอง รอบที่ 1 (Paper) ภายใน 15 มกราคม 2556

More Related