450 likes | 652 Vues
ยินดี ต้อนรับ .. ภาคีเครือข่าย .... คนทำงานเพศศึกษา. การประชุมวิชาการ “เพศศึกษาเพื่อเยาวชน ครั้งที่ ๕” “ก้าวที่เก้า..ก้าวที่กล้า : เพศวิถีศึกษา เพื่อสร้างสังคมแห่งวุฒิภาวะ”. สถานศึกษา จะใช้ กลไกจังหวัด ขับเคลื่อน เพศศึกษา อย่างไร ? วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๔ ห้องแกรนด์บอลรูม A.
E N D
ยินดีต้อนรับ .. ภาคีเครือข่าย .... คนทำงานเพศศึกษา การประชุมวิชาการ “เพศศึกษาเพื่อเยาวชน ครั้งที่ ๕” “ก้าวที่เก้า..ก้าวที่กล้า: เพศวิถีศึกษา เพื่อสร้างสังคมแห่งวุฒิภาวะ” สถานศึกษาจะใช้กลไกจังหวัด ขับเคลื่อนเพศศึกษาอย่างไร? วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๔ห้องแกรนด์บอลรูม A
กลไกการขับเคลื่อนงาน เอดส์/เพศศึกษา ของ PCM อุดรธานี นำเสนอการประชุมวิชาการเพศศึกษาเพื่อเยาวชน ครั้งที่ ๕ วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพฯ โดย.. นางเพ็ญศิริ ศรีจันทร์ หัวหน้างานควบคุมโรคเอดส์และกามโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี เลขานุการศูนย์ประสานประชาคมเอดส์จังหวัดอุดรธานี
ปี ๒๕๔๗ - ๒๕๔๘ • ดำเนินการโดยการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรสาธารณสุข ครู ภาคประชาชน ฯลฯ เป็นวิทยากรในการไปดำเนินกิจกรรมด้านป้องกันเอดส์ • กิจกรรมค่ายแกนนำเยาวชนในการป้องกันเอดส์ในชุมชน • มีโอกาสทำงานร่วมกับองค์การ PATH ผ่านเวทีกิจกรรมต่างๆ ด้านเยาวชนรู้เท่าทันสื่อ , เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครูผู้สอนเพศศึกษา ทำให้คิดว่า “ที่ผ่านมาทำงานด้านป้องกันกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อให้ไปสู่เยาวน” เห็นว่า..โอกาสในการเข้าถึงเยาวชนหรือเยาวชนจะได้ข้อมูลความรู้ กระบวนการ น้อยกว่าเมื่อเทียบกับ“ครูนำมาถ่ายทอดผ่านหลักสูตร” เพราะเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จะเข้าไปให้ความรู้ในสถานศึกษา ปีละ ๑-๒ ครั้ง แต่ครูอยู่กับเด็กตลอดปีการศึกษา
ปี ๒๕๔๙ • เริ่มการพัฒนาครูเพื่อเป็นผู้จัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้าน โดยนำกระบวนการและหลักสูตรขององค์การ PATH โดยการอนุเคราะห์วิทยากรจากองค์การ PATH และสนับสนุนสื่อต่างๆ (จังหวัดคู่ขนาน) ในการดำเนินงานเพศศึกษาสู่สถานศึกษาแต่ใช้งบประมาณของจังหวัด • โดยอบรมครูผู้สอนรุ่น ๑ จำนวน ๖ โรงเรียน จาก ๔ เขตการศึกษา ร่วมกับ สพท.อุดรธานี
>> บทบาทจากโครงสร้างที่มีอยู่เดิม << คณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ คณะทำงานศูนย์ปฏิบัติการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์จังหวัด คณะทำงาน ด้านสิทธิ คณะทำงาน เพศศึกษาจังหวัด คณะอนุกรรมการเอดส์อำเภอ ศูนย์เฉลิมพระเกียรติ
>> ทำอย่างไร..?<< “บูรณาการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์อย่างยั่งยืน” ตามแนวทางแผนยุทธศาสตร์ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ ปี 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 1 บริหารจัดการเพื่อบูรณาการงานเอดส์สู่ภาคส่วน ยุทธศาสตร์ ที่ 2 บูรณาการการป้องกันและดูแลรักษาเพื่อลดผลกระทบตามกลุ่มประชากร ยุทธศาสตร์ที่ 3 การคุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การประเมินผล
แนวทางสนับสนุนที่ดำเนินการในพื้นที่แนวทางสนับสนุนที่ดำเนินการในพื้นที่ • สสจ. (งานเอดส์ฯ) หน่วยเลขานุการคณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์จังหวัด ทำหน้าที่เชื่อมบูรณาการงานป้องกันและงานดูแลรักษา • พัฒนาแผนยุทธศาสตร์จังหวัดโดยศึกษานโยบายรัฐบาล กระทรวง ยุทธศาสตร์จังหวัด เป็นแนวทางเพื่อให้ชุมชน อปท. ส่วนราชการหน่วยอื่นๆ
ได้ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ขึ้นมา ให้สอดคล้องภายใต้บริบทพื้นที่อาจแตกต่างกัน จังหวัดอุดรธานีได้เริ่มทำแผนยุทธศาสตร์แบบภาคีเครือข่าย ตั้งแต่ปี 2548 เสนอแผนยุทธศาสตร์กับอบจ. แผนพัฒนาจังหวัด
งบประมาณดำเนินการ ปี 2548 ได้งบ CEO จำนวนเงิน 1 ล้านบาท ปี 2549 ได้งบ CEO จำนวนเงิน 3.9 แสนบาท ปี 2550 ได้งบ อบจ. จำนวนเงิน 4 แสนบาท ปี 2551 ได้งบ อบจ. จำนวนเงิน 1 ล้านบาท ปี 2552 ได้งบ อบจ. จำนวนเงิน 1 ล้านบาท งบพัฒนาจังหวัด จำนวนเงิน 1.75 ล้านบาท ปี 2553 ได้งบ อบจ. จำนวนเงิน 1 ล้านบาท งบจังหวัด จำนวนเงิน 1 แสนบาท
งบดังกล่าวดำเนินการโดย..งบดังกล่าวดำเนินการโดย.. หน่วยงานภาคีและการพัฒนาศักยภาพเสริมหนุนระดับอำเภอ โดยเฉพาะด้านป้องกันการติดเชื้อ HIV กลุ่มเยาวชนทุกกลุ่ม กลุ่มเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ กลุ่มพนักงานบริการ กลุ่มครู / ผู้ปกครอง ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายตามแผน ยุทธศาสตร์ การศึกษาวิจัย/ติดตามประเมินผล
ผลการดำเนินการพัฒนาโรงเรียนผลการดำเนินการพัฒนาโรงเรียน จัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาแบบรอบด้าน ปี ๒๕๔๙ - ๒๕๕๒ ปี ๒๕๔๙ สังกัด สพท.อุดรธานี เขต ๑-๔ = ๖ แห่ง ปี ๒๕๕๐ สังกัด สพท.อุดรธานี เขต ๑-๔ = ๕ แห่ง ปี ๒๕๕๑ สังกัด สพท.อุดรธานี เขต ๑-๔ = ๙ แห่ง ปี ๒๕๕๒ สังกัด สพท.อุดรธานี เขต ๑-๔ = ๕ แห่ง สังกัด อบจ. = ๘ แห่ง สังกัด สนง.พระพุทธศาสนา = ๑๘ แห่ง รวมทั้งสิ้น สังกัด สพท.อุดรธานี เขต ๑-๔ = ๒๕ แห่ง สังกัด อบจ. = ๘ แห่ง สังกัด สนง.พระพุทธศาสนา = ๑๘ แห่ง
ปี ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ • เชื่อมต่อบทบาท PCM (Provincial Coordinating Mechanism) ตามโครงการ ACHIEVED โดยการสนับสนุนของกองทุนโลก
โครงการ ACHIEVED AligningCareandPreventionofHIV/AIDSwithGovernmentDecentralizationtoAchieveCoverageandImpact โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์สู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัดให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ (๖ ปี) ระยะที่ ๑ – ๓ ปี (ตุลา ๕๑ – กันยา ๕๔) ระยะที่ ๒ – ๓ ปี (ตุลา ๕๔ – กันยา ๕๗)
เป้าหมายเชิงปริมาณโครงการ ACHIEVED • คำนวณจากฐานประชากรอายุ ๑๒-๒๔ ใน ๔๓ จังหวัด (๘ ล้านคน) • ๓๐% ของเยาวชน ได้รับการศึกษาเรื่องการป้องกันเอดส์ (๒.๔ ล้านคน) • ๖.๕% ของเยาวชนจะเข้าถึงบริการ YPFS (๑๖๐,๐๐๐ คน) • ๕๐% ของเยาวชนที่เข้าถึงบริการ YPFS ได้รับบริการ VCT (๘๐,๐๐๐ คน) • ๑๐% ของเยาวชนที่รับบริการ YPFS และติดเชื้อ STIsได้รับการตรวจรักษา STI (๑๖,๐๐๐ คน) • ๐.๕% ของเยาวชนตรวจพบ HIV ได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง (๔๐๐ คน)
กลุ่มประชากรเป้าหมายในการดำเนินงาน:กลุ่มประชากรเป้าหมายในการดำเนินงาน: • เยาวชนในชุมชน ในสถานที่ทำงาน ในโรงเรียน ในระบบการศึกษานอกโรงเรียน • กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ • กลุ่มเด็กกำพร้าและเด็กที่อยู่ในภาวะล่อแหลมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี • ประชากรที่ไม่มีสัญชาติไทยที่ไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขของสำนักงานหลักประกันสุขภาพได้ • กลุ่มผู้ที่ได้รับการดูแลจากองค์กรศาสนาและชุมชน • ครู ผู้นำชุมชน สื่อสารมวลชนและผู้นำในสถานที่ทำงาน • ผู้ให้บริการสาธารณสุขและอาสาสมัคร
>> เป้าหมาย PCM อุดรธานี มุ่งผลสัมฤทธิ์ 6 ปี ให้เกิด กิจกรรมปรับพฤติกรรมป้องกันเอดส์เข้าถึงเยาวชนอายุ 12-24 ปี ในพื้นที่อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิผล 95,717 คน เยาวชนจำนวน 6,222 คน เข้าถึงบริการสุขภาพเจริญพันธ์ที่เป็นมิตร เยาวชนจำนวน 3,111 คน ได้รับบริการให้คำปรึกษาและตรวจเลือด HIV โดยสมัครใจ เยาวชนที่มีปัญหาสุขภาพเจริญพันธ์ จำนวน 622 คน ในพื้นที่ได้รับการตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เยาวชนที่ตรวจพบติดเชื้อ HIV~16 คน ในโครงการได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง
SR , SSR ที่ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี (รอบ RCC) องค์การแพธ(โดย มรภ.อุดรธานี): เยาวชนในสถานศึกษา บ้านพักใจอุดรธานี : เยาวชนในสถานประกอบการ มูลนิธิรักษ์ไทย : เยาวชนในชุมชน และบริการที่เป็นมิตร สสจ.อุดรธานี : เลขานุการศูนย์ประสานประชาคม เอดส์จังหวัด (PCM : ศปอจ. ) สสอ. ทุกอำเภอ : เลขานุการศูนย์ประสานประชาคม เอดส์อำเภอ (PCM : ศปออ. )
โครงสร้าง PCM อุดรธานี (รอบ RCC และ GF8) คณะอนุกรรมการเอดส์จังหวัด คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินงาน ศูนย์ประสานประชาคมเอดส์จังหวัดอุดรธานี ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 ชุดที่ 5 ชุดที่ 6 ชุดที่ 7 ชุดที่ 8 ชุดที่ 9 บูรณาการแผน/ระดมทรัพยากร สนับ สนุนวิชา การ • เยาวชนใน/นอกสถาน ศึกษา • สถานประกอบการ • ชุมชน กลุ่มประชากรที่มีภาวะเสี่ยงสูง 5 กลุ่ม พัฒนาระบบเครือ ข่ายบริการที่เป็นมิตร ประชา สัมพันธ์ลดการตีตรา กฎ หมายและความมั่นคงระดับจังหวัด กำกับ/ประเมินผล คณะทำงาน ศปออ. ซึ่งทางคณะทำงานประกอบด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งจากภาครัฐ,เอกชน และ NGO ที่เป็น SSR
บทบาท PCM รอบ RCC ๑.) บูรณาการกลยุทธด้านการป้องกันเข้าในแผนยุทธศาสตร์ระดับจังหวัดและแผนพัฒนาท้องถิ่น ๒.) การจัดการเรียนรู้ให้ภาคีเครือข่าย ๓.) เชื่อมต่อบริการเชิงรุกกับสถานบริการที่เป็นมิตร ๔.) การระดมความร่วมมือและทรัพยากร ๕.) การกำกับ ติดตาม และประเมินผลแผนยุทธศาสตร์
เยาวชนอายุ ๑๒-๒๔ ปี เข้าถึงกิจกรรมปรับพฤติกรรมป้องกันเอดส์อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิผล ๓๐% ของประชากรอายุ ๑๒-๒๔ ปี • จังหวัดอุดรธานี ประชากร อายุ ๑๒-๒๔ ปี ๓๑๙,๐๕๘คน • เป้าหมาย ๓๐% = ๙๕,๗๑๗ คน • กระบวนการที่มีอยู่ • ๑.) การจัดการเรียนรู้เพศศึกษาแบบรอบด้านในโรงเรียน • ๒.) การทำงานเชิงรุกกับเยาวชนในชุมชน , สถานศึกษา , • สถานประกอบการ , หน่วยบริการสุขภาพ • ๓.) การรณรงค์สัญจรในเทศกาลวันแห่งความรัก,วันเอดส์ • โลก หรือสถานศึกษาจัดทำโครงการเอง ใช้กิจกรรม • เรียนรู้คิดวิเคราะห์ เช่น Up to Me
ใครบ้าง.? รับผิดชอบกลุ่มเป้าหมาย
สถานศึกษา รวม ณ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ = ๕๕,๒๐๐ คน อศจ. ๙ แห่ง สพท.อด. เขต ๑-๔ ๓๗ แห่ง สังกัด อบจ. ๘ แห่ง สถาบัน การพลศึกษา สังกัด สนง. พระพุทธฯ ๑๘ แห่ง ๑๕,๖๘๓ คน ๓๓,๙๕๙ คน ๓,๑๘๗ คน ๑๐๕ คน ๒,๒๖๖ คน หมายเหตุ:ปีการศึกษา ๒๕๕๔ อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูล
ผลงานเยาวชนในชุมชนเข้าถึงกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปี ๒๕๕๔ รวม ๒๔,๒๐๑ คน มูลนิธิรักษ์ไทย อปท.นำร่อง ๒๓แห่ง (มีแกนนำเยาวชน) ๑๕๐/อปท.= ๓,๔๕๐ คน บ้านพักใจอุดรธานี โครงการเยาวชนในชุมชน ๔๖๐ คน โครงการ YPFS เชิงรุก ๑๕,๑๘๖ คน พื้นที่ของมูลนิธิรักษ์ไทยทำเอง ๓๒๕ คน เยาวชนในสถานประกอบกิจการ ๔,๗๘๐ คน
ณ ปัจจุบันขับเคลื่อนได้ ~๗๙,๔๐๑ คน • ที่เหลือ ๑๖,๓๑๖ คน • แผนขับเคลื่อนผ่าน อปท.(เยาวชนในชุมชน) โดยกระบวนการแผนที่ยุทธศาสตร์ • แผน อปท. ชวนโรงเรียนสอนเพศศึกษาแบบรอบด้าน ๑๖ คาบ/ปี
การเข้าถึงบริการสุขภาพที่เป็นมิตรรับผิดชอบเป้าหมาย โดยมูลนิธิรักษ์ไทย ผลงานปี ๒๕๕๔
บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ๑.) ทำให้เห็นสถานการณ์ปัญหาเอดส์/เพศในเยาวชน/Marps - การลงพื้นที่สัมภาษณ์ผู้นำ นายอำเภอ ท้องถิ่นอำเภอ นายก อปท. วัฒนธรรมอำเภอ สสอ.
บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. ๒.) ปรับทัศนคติและเพิ่มข้อมูลต่อเรื่องเอดส์/เพศ และ วิถีชีวิตของเยาวชน ๓.) พัฒนาศักยภาพของทีมระดับอำเภอ เพื่อสนับสนุน การทำงานระดับ อปท.
บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. • ๔.) ทำ Work shop การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ของ • อปท. (โดยทีมอำเภอ + อปท.) • ๕.) พัฒนาศักยภาพทีม ต่อ.. • ด้านทักษะการเป็นวิทยากรกระบวนการจัดการทำแผนที่ยุทธศาสตร์ • ทักษะการเป็นวิทยากรกระบวนการจัดการเรียนรู้เอดส์/เพศศึกษา/การพัฒนาเยาวชนเชิงบวก
บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. ๖.) การเชื่อมบูรณาการงานป้องกันเชิงรุกในเยาวชน / Marpsกับงานบริการสุขภาพที่เป็นมิตร
บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. • ๗.) ระดมความร่วมมือและทรัพยากรในพื้นที่ของ อปท. • ๗.๑.) ด้านงบประมาณ • กองทุนสุขภาพชุมชน • งบอุดหนุน/งบปกติของ อปท. • งบ PP ของ CUP / สอ. • งบ PP area base ของจังหวัด • งบ NGO SSR ที่อยู่ในพื้นที่ กระตุ้นช่วยเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทำโครงการตรวจ P-B ในพื้นที่ , Mobile ตรวจ VCT / STI ร่วมกัน • งบ อบจ. • งบ CEO ระดับจังหวัด
บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. • ๗.๒.) ด้านบุคลากร • (พื้นที่ระดมความร่วมมือ) • ครู / สาธารณสุข / อสม. / ผู้นำชุมชน / เจ้าหน้าที่ของอปท. / นักพัฒนาชุมชน / ครู กศน. / วัฒนธรรรม , ตำรวจ • มี Commitment ร่วมกัน • ระดับ อปท. ๖ อำเภอ • ปี ๒๕๕๔ ขยายเพิ่ม ๖ อำเภอ
บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. ๘.) ด้านการติดตามประเมินผล ๘.๑.) การลงพื้นที่เยี่ยมติดตาม (Coaching) ๘.๒.) ติดตามผลภายหลังการทำ Work shop ๘.๓.) ลงร่วมประชุมแผนของ อปท.
บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. • แผนที่ยุทธศาสตร์ • หัวใจที่ต้องการ เกิดการเริ่มต้นทำงาน(ไม่ใช่แค่เอกสาร)เปลี่ยนวิธีคิดจากการทำงานแบบเดิมเป็นแบบคุณภาพยั่งยืน คุณภาพชีวิตแบบองค์รวม เชิงระบบ • ความมุ่งมั่นของภาคีเครือข่าย และการเตรียมบุคลากรในการทำงาน
การให้ความสำคัญเบื้องต้นการให้ความสำคัญเบื้องต้น ไม่ได้อยู่ที่บรรจุแผน อปท. หรือไม่บรรจุ • แต่คนทำงานผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง ได้ปรับเปลี่ยนวิธีคิด การทำงานเชิงคุณภาพ ต่อเนื่อง ยั่งยืน (เชิงระบบ) หรือยัง
กระบวนการปรับเปลี่ยนวิธีคิดกระบวนการปรับเปลี่ยนวิธีคิด องค์ประกอบ ที่ต้องจะเกิด คือ ..! ๑.) ทีมประสานงานเกาะติด ๒.) มีข้อมูลที่ดีโดนใจคนทำงานผู้บริหาร ๓.) แกนนำที่มุ่งมั่นเป็นเจ้าภาพงาน ๔.) กลไกบริหารที่เป็นกองหนุน
แผนและแนวทางการขยายผลแผนและแนวทางการขยายผล ๑.) ระดับจังหวัด ๑.๑) เตรียมทีมวิทยากรที่มีศักยภาพเสริมหนุนอำเภอ ในจังหวัด (เรื่องการสื่อสารเอดส์/เพศ/อนามัยเจริญพันธ์ ด้านแผนที่ยุทธศาสตร์) ๑.๒) กระตุ้นโดยเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสนอ Best Practice ๑.๓) ผ่านกระบวนการเวทีสมัชชาสุขภาพ ๑.๔) ผลักดันนโยบายผ่านผู้บริหาร เพื่อประกาศเป็นวาระของ จังหวัด ผวจ. รอง ผวจ. ปลัด นพ.สสจ. นายก อบจ.
แผนและแนวทางการขยายผลแผนและแนวทางการขยายผล ๒.) ระดับอำเภอ ศูนย์ประสานประชาคมเอดส์อำเภอ • สร้างทีมประสานเกาะติด เรียนรู้ต่อเนื่อง • มีการสร้างระบบข้อมูลที่ดี • มีการสร้างแกนนำที่มุ่งมั่น • มีการสร้างกลไกบริหารเพื่อเป็นกองหนุน
จังหวัดคัดเลือก ชวนอำเภอที่มีใจ พัฒนาเป็นอำเภอต้นแบบ มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับขยายผล
อำเภอ ชวนตำบลที่สนใจ/ตำบลที่มีแววมาพัฒนาเป็นตำบลต้นแบบ <นำร่อง> เปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน ยกระดับขยายผล
ประกวด Best Practice อปท.ดีเด่น (วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2553) • รางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 อบต.บ้านแดง อ.พิบูลย์รักษ์ • อันดับ 2 อบต.กุมภวาปี อ.กุมภวาปี • อันดับ 3 อบต.จำปาโมง อ.บ้านผือ • รางวัลชมเชย อันดับ 1 เทศบาลตำบลลำพันชาด • อ.วังสามหมอ • อันดับ 2 เทศบาลตำบลหนองหญ้าไซ • อ.วังสามหมอ
ผลงานเด่นระดับอำเภอ ศปออ.วังสามหมอ อ.วังสามหมอ • ประกาศเป็นวาระนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ และเยาวชนของอำเภอ • ประชุมคณะกรรมการศูนย์ประสานประชาคมเอดส์อำเภอ ๒ ครั้ง • ประชุมพัฒนาเครือข่ายป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในเยาวชนเพื่อจัดทำแผนและบรรจุแผนท้องถิ่น ๓ ปี • ผลักดันการบรรจุแผนของ อปท. • ปี ๒๕๕๔พัฒนาทีมระดับตำบลสำหรับ • - สำหรับการจัดการเรียนการสอนเพศศึกษาในโรงเรียน • - การสื่อสารเรื่องเพศ/เอดส์ ในชุมชน
ผลงานเด่นระดับตำบล ศปอต.จำปาโมง อ.บ้านผือ • ก.ค. 53 ประชุมเครือข่ายวางแผนการทำงานด้านเอดส์ • จัดตั้ง ศปอต.จำปาโมง มีคณะทำงานชัดเจน • 23-25 ส.ค. 53 อบรมแกนนำขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เอดส์ตำบล • ศึกษาดูงานด้านเอดส์/เพศศึกษา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา อ.พิบูลย์รักษ์ • 3-5 ก.ย. 53 ค่ายแกนนำเยาวชนด้านเอดส์/เพศศึกษา • จัดตั้งกลุ่มแกนนำเยาวชน “ดอกจำปา” เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานยุทธศาสตร์เอดส์และเพศศึกษา ร่วมกับผู้ใหญ่ • เดินรณรงค์ในวันเอดส์โลก • วางแผน กำหนดยุทธศาสตร์ดำเนินงานต่อเนื่องในปี ๒๕๕๔
ปัญหา/อุปสรรค • 1. ระบบบริการที่เป็นมิตร • ยังมีอุปสรรค • ระดับผู้ปฏิบัติ • ในบางพื้นที่ • 2. ระบบการรายงาน • ตัวเลขตามเป้าหมาย • การบริการเชิงรุกยังไม่ครอบคลุมพื้นที่
ข้อเสนอแนะ ระบบรายงานบริการที่เป็นมิตร - มูลนิธิรักษ์ไทยเก็บข้อมูลในส่วนที่ลงพื้นที่ - ตัวเลขในระบบ สสจ.เก็บ แล้วรวบรวมส่ง PR 2. คลินิกบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นกระทรวงสาธารณสุข ควรผลักดันให้ สป.สช. มีบทบาทผลักดันสู่ความยั่งยืนเหมือนยาต้านไวรัสเอดส์ กรมอนามัย กรมควบคุมโรค และกรมสุขภาพจิต ควรบูรณาการ สู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ หรือมีงบประมาณจากส่วนกลางมา พัฒนาบริการที่เป็นมิตร แยกจาก SR ที่รับทุน 3. ควรมีทางเลือกบริการที่หลากหลาย ให้วัยรุ่นเข้าถึง