1 / 77

แรงงานไทยกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

แรงงานไทยกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. นรา รัตนรุจ 10 มกราคม 2557. ภาคเอกชนไทยมีความพร้อมแค่ไหน. ระดับความรู้ความเข้าใจของ ภาคเอกชนไทย ไม่รู้ และไม่คิดจะรู้ รู้ แต่ไม่รู้เรื่อง เห็นเป็นเรื่องไกลตัว รู้ แต่ไม่รู้จะปรับตัวอย่างไร รู้ เห็นเป็นโอกาส มีการปรับตัวเชิงรุก

Télécharger la présentation

แรงงานไทยกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แรงงานไทยกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแรงงานไทยกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นรา รัตนรุจ 10 มกราคม 2557

  2. ภาคเอกชนไทยมีความพร้อมแค่ไหนภาคเอกชนไทยมีความพร้อมแค่ไหน • ระดับความรู้ความเข้าใจของภาคเอกชนไทย • ไม่รู้ และไม่คิดจะรู้ • รู้ แต่ไม่รู้เรื่อง เห็นเป็นเรื่องไกลตัว • รู้ แต่ไม่รู้จะปรับตัวอย่างไร • รู้ เห็นเป็นโอกาส มีการปรับตัวเชิงรุก • 2.เราจะตั้งรับอย่างเดียวไม่ได้แล้ว • เอกชนต้องมีการปรับตัวให้รองรับ • การเปลี่ยนแปลงจาก AEC โดยเฉพาะ SMEsเป็นกลุ่มใหญ่ที่ยังขาดความพร้อม และรัฐไม่ควรละเลย ส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ที่มีความพร้อมทั้งเงินทุนและบุคลากร

  3. ASEAN ECONOMIC COMMUNITY MODERNIZATION = ทันสมัย WITH แต่ OUT ไม่ DEVELOPMENT = พัฒนา

  4. องค์การการค้าระหว่างประเทศองค์การการค้าระหว่างประเทศ GATT : General Agreement on Tariffs & Trade (ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากร และการค้า) GATS : General Agreement on Trade in service (ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ)

  5. GATT : General Agreement on Tariffs & Trade • ก่อตั้งปี 2490 ค.ศ. 1947 สมาชิกเริ่มแรก 23 ประเทศ ปัจจุบัน เป็น 123 ประเทศ • เป็นข้อตกลง : ประกอบด้วยข้อลดหย่อนภาษีศุลกากร ในภาคีสมาชิกที่ตกลง และกฎการค้าในร่างสนธิสัญญา (The International Trade Organization : ITO) องค์การการค้าระหว่างประเทศ • เพื่อป้องกันไม่ให้มีการใช้มาตรการจำกัดการค้า ในการบิดเบือนข้อลดหย่อนภาษีศุลกากรระหว่างกัน • มีสำนักงานเลขาธิการแกตต์ (GATT Secretariats) ทำหน้าที่ควบคุมบริหารงานทั่วไป กรณีภาคีไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง มีบทบัญญัติให้ประเทศผู้เสียหายจากการกีดกันอื่นๆ หารือกับคู่กรณีเพื่อให้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามข้อตกลงได้ และชดใช้ส่วนที่เสียหายคืน

  6. GATS : The General Agreement on Trade in Services • เป็นความตกลงใน GATT ฉบับหนึ่งจาก 40 ฉบับในการเจรจาการค้าพหุภาคี รวมอุรุกวัย ซึ่งในเวลา 7 ปี • มีข้อตกลง Marrakesh Agreement Establishing The World Trade Organization. • ความตกลงฉบับนี้ เป็นกรอบว่ากฎและหลักการที่เกี่ยวกับการค้าบริการ GATS ระหว่างประเทศสมาชิก GATT

  7. ประเทศไทยยังเข้าร่วมกับกลุ่มประเทศต่างๆ ที่มีบทบาททางเศรษฐกิจอีกหลายกลุ่ม คือ 1. กลุ่มเอเปค (Asia – Pacific Economic Corporation : APEC) 2. กลุ่มนาฟต้า (North America Free Trade Area : NAFTA) 3. กลุ่มสหภาพยุโรป (European Union : EU) 4. กลุ่มอาเซ็ม (Asia – Europe Meeting - Asean : ASEM)

  8. อาเซียน คืออะไร? Association of Southeast Asian Nations : ASEAN หมายถึง สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกย่อ ๆ ว่า อาเซียน เป็นองค์กรที่ถือกำเนิดตามปฏิญญากรุงเทพ ฯ (Bangkok Declaration)ของผู้นำประเทศเอเซียตะวันออกเฉียงใต้  5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ที่จะให้มีการรวมกลุ่มและร่วมมือกันเสริมสร้างให้ภูมิภาคมีสันติภาพอันนำมาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

  9. วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของอาเซียน Building Blocs of ASEAN Integration Bangkok Declaration ASEAN 2510 CEPT-AFTAAgreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for ASEAN Free Trade Area 2535 AFAS ASEAN Framework Agreement on Services 2538 AICO ASEAN Industrial Cooperation Scheme 2539 AIAFramework Agreement on the ASEAN Investment Area ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit 2541 ASEAN CharterASEAN Community + Declaration on AEC Blueprint 2550 ATIGA ASEAN Trade in Goods Agreement 2552 2554 ACIA ASEAN Comprehensive Investment Agreement

  10. วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคงในภูมิภาค เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชนในภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือในด้านต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และการบริหาร ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่างประเทศต่างๆ

  11. หลักการพื้นฐานของอาเซียนหลักการพื้นฐานของอาเซียน การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ (Consensus) การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน (Non-interference) การร่วมมือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน (Prosperity)

  12. ความสำคัญของอาเซียน ที่มา : ASEAN Secretariat

  13. ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียนความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน สีน้ำเงินสันติภาพและความมั่นคง สีแดง ความกล้าหาญและก้าวหน้า สีเหลืองความเจริญรุ่งเรือง สีขาว ความบริสุทธิ์ รวงข้าว 10 ต้นคือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลม แสดงถึงความเป็นเอกภาพ วันอาเซียน8 สิงหาคม

  14. CAMBODIA ASEAN (Association of South East Asian Nations) อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510

  15. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : AEC AEC คืออะไร ทำไมต้องเป็น AEC

  16. AEC : ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คืออะไร? ASEAN Economic Community เป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมอาเซียให้เป็นตลาดและฐานผลิตเดียว  มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และการลงทุน แรงงานฝีมือ และเงินทุนอย่างเสรี ภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ.2015) และได้กำหนดยุทธศาสตร์สำคัญ 4 ด้านคือ

  17. AEC = Common Market 1) การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วมกัน ให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือและเงินทุนอย่างเสรี 2) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียนโดยส่งเสริมกรอบนโยบายด้านเศรษฐกิจที่สำคัญ เช่น กรอบนโยบายการแข่งขันของอาเซียน สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษีและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การขนส่งและเทคโนโลยีสารสนเทศ) เป็นต้น

  18. AEC = Common Market • 3) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก โดยการสนับสนุนการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และส่งเสริมโครงการต่าง ๆ ภายใต้กรอบการริเริ่มการรวมกลุ่มของอาเซียน เป็นต้น • 4) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนที่มีต่อประเทศภายนอกภูมิภาค เช่น การจัดทำเขตการค้าเสรี และการสร้างเครือข่ายด้านการผลิตและจำหน่าย เป็นต้น

  19. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC (AEC Blueprint) One Vision One Identity One Community ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

  20. โครงสร้างอาเซียนใหม่ภายใต้กฎบัตรฯRoadmap for ASEAN Community 2009-2015

  21. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 2015 (2558) ประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ เสาหลักด้านประชาสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC) : ซึ่งมีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนส่งเสริมการให้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์ของอาเซียน

  22. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เป้าหมาย: เพื่อให้เป็นสังคมเป็นเอกภาพ เอื้ออาทรต่อกัน มีความเป็นอยู่ที่ดี พัฒนาทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม โดย เน้นการบูรณาการด้านการศึกษา สร้างสังคมความรู้ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม ส่งเสริม ICT การเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพัฒนามนุษย์ ขจัดความยากจน สร้างเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม ส่งเสริมความมั่นคงและความปลอดภัยด้านอาหาร การควบคุมโรคติดต่อ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติธรรมและสิทธิ คุ้มครองสิทธิผู้ด้อยโอกาส แรงงานย้ายถิ่นฐาน ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมองค์กรธุรกิจ การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม ข้ามแดน การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ส่งเสริมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรม ลดช่องว่างด้านการพัฒนา การสร้างอัตสักษณ์อาเซียน

  23. ความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงานในเสาหลักที่หนึ่งความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงานในเสาหลักที่หนึ่ง ความร่วมมือด้านแรงงานได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจนในพิมพ์เขียว ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASCC Blueprint) ในหมวดดังต่อไปนี้ A การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development) A2 การลงทุนด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ A3 การส่งเสริมงานที่มีคุณค่า A6 การเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบอาชีพให้แก่สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้ทุพพลภาพ B การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) B2 เครือข่ายทางสังคมและการคุ้มครองจากผลกระทบของการบูรณาการและกระแสโลกาภิวัตน์ C สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) C2 การคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงานย้ายถิ่น

  24. ความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงานในเสาหลักที่สองความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงานในเสาหลักที่สอง เสาหลักด้านประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลัก คือ การนำอาเซียนไปสู่การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and Production Base) ภายใต้หลักการดังกล่าว อาเซียนจะมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรี ใน 5 สาขา ประกอบด้วย 1) สินค้า 2) บริการ 3) การลงทุน 4) แรงงานฝีมือ 5) เงินทุน ความร่วมมือด้านแรงงานได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจนในพิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจ (AEC Blueprint) ในหมวดดังต่อไปนี้ A2 การเคลื่อนย้ายธุรกิจบริการเสรี (Free flow of service) ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องอนุญาตให้ผู้ประกอบกิจการ การบริการของอาเซียนเข้ามาทำธุรกิจ และในปี พ.ศ. 2558 สมาชิกอาเซียนสามารถมีสัดส่วนการถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 70

  25. A5 การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี (Free flow of skilled labour)ซึ่งอยู่ภายใต้การเจรจาเรื่องการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา (Movement of Natural Persons) และเป็นเรื่องของบุคลากรวิชาชีพที่ต้องมีการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน(Mutual Recognition Arrangement : MRA) ซึ่งเป็นการยอมรับคุณสมบัติในการมีใบอนุญาตทำงานในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งภายในปี 2015 จะมีการเคลื่อนย้ายเสรีใน 7 สาขาวิชาชีพ ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร บัญชีและช่างสำรวจ ส่วนสาขาวิชาชีพ/อาชีพอื่น จะทยอยให้มีการเคลื่อนย้ายเสรีต่อไปในอนาคต

  26. ความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงานในเสาหลักที่สามความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงานในเสาหลักที่สาม เสาหลักด้านประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEN Political and Security Community – APSC) ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียนในด้านต่างๆ เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ บนพื้นฐานของหลักการว่าด้วยความมั่นคงของมนุษย์ และให้ประชาคมอาเซียนมีปฏิสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและสร้างสรรค์กับประชาคมโลก โดยให้อาเซียนมบทบาทนำในภูมิภาค ความร่วมมือด้านแรงงานเป็นเพียงการสนับสนุน เพื่อสร้างให้เกิดความมั่นคงในภูมิภาคอาเซียน ได้แก่ เรื่องการค้ามนุษย์ (การลักลอบเข้ามาทำงานของแรงงานต่างด้าว) และยาเสพติด เป็นต้น

  27. แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC Blueprint

  28. AEC 4 เป้าหมายภายใต้ AEC Blueprint เพื่อประสานกลายเป็นหนึ่งเดียว คือ อาเซียน 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี โครงสร้างพื้นฐาน เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 e-ASEAN 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก สนับสนุนการพัฒนา SMEs ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย ลดช่องว่างการพัฒนา IAI จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค การมีส่วนร่วมภาครัฐ-เอกชน PPE

  29. 1. อาเซียนจะกลายเป็นตลาดร่วมอย่างสมบูรณ์ ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์/อุปสรรคนำเข้าระหว่างอาเซียนด้วยกันหมดไป ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง สินค้า บริการ ทำธุรกิจบริการในอาเซียนได้อย่างเสรี การลงทุนในอาเซียนทำได้อย่างเสรี การลงทุน แรงงานฝีมือ การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี เงินทุน การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรียิ่งขึ้น ความมั่นคงด้านอาหาร เกษตร ป่าไม้ ความร่วมมือ

  30. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แผนงานใน AEC Blueprint 4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตทำงาน • ทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก • ปัจจุบัน ตกลงกันได้แล้ว 7 สาขา สาขาวิศวกรรม สาขาพยาบาล สาขานักสำรวจ สาขาแพทย์ สาขานักบัญชี สาขาทันตแพทย์ สาขาสถาปัตยกรรม

  31. การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี เฉพาะแรงงานฝีมือเท่านั้น เริ่มต้นที่ 7 อาชีพ นักสำรวจ พยาบาล สถาปัตยกรรม วิศวกรรม แพทย์ นักบัญชี ทันตแพทย์

  32. จะเกิดอะไรขึ้นใน AEC 2015 “การเปลี่ยนแปลงเกิดจากผลการดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป AEC ไม่ได้ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในทันที แต่เป็น work in progress และเป็น milestone” • อาเซียนจะกลายเป็นตลาดร่วม • อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน • อาเซียนดึงดูดการลงทุนจากทั่วโลก • อำนวยความสะดวกในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ • มีการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างเป็นระบบ • พัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อเนื่อง • เศรษฐกิจอาเซียนบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • ขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนเพิ่มสูงขึ้น • มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน

  33. สรุป... อาเซียนจะกลายเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 (2015) ไทยจะเป็นส่วนหนึ่งของตลาดและฐานการผลิตร่วมของอาเซียน ภาษีนำเข้าจะเป็นศูนย์ ในอาเซียน-6 ณ 1 มค 2553 ใน CLMV ณ 1 มค 2558 จะไปทำธุรกิจภาคบริการ หรือไปลงทุนในอาเซียนอื่นๆได้อย่างเสรี ขณะเดียวกัน ไทยจะต้องเปิดเสรีถึง 70% ในปี 2558 สิ่งแรกคือ ต้องให้ทุกภาคส่วนตระหนัก(รู้) แต่อย่า(ตื่น)ตระหนก ผลที่จะเกิดขึ้นมีทั้งได้และเสีย ต้องกระตุ้น ต้องปรับตัว แนะการเตรียมตัวรับมือ ให้กับผู้ที่อาจเสีย/ได้รับผลกระทบ แนะลู่ทางการใช้ประโยชน์ ให้กับผู้ที่จะได้ประโยชน์ ให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ควรแนะให้ภาคเอกชนใช้ยุทธศาสตร์เชิงรุก มากกว่าคิดแต่จะรับ

  34. ไทยอยู่ตรงไหน??ในอาเซียนไทยอยู่ตรงไหน??ในอาเซียน Note: Latest available data in Year 2010 Source: ASEAN Secretariat Database

  35. การจัดอันดับศักยภาพการแข่งขันของไทยในอาเซียนการจัดอันดับศักยภาพการแข่งขันของไทยในอาเซียน IMD: ASEAN Overall&Factor Benchmarking 2012 Source: TMA (Thailand Management Association)

  36. ศักยภาพของไทยในอาเซียนศักยภาพของไทยในอาเซียน ที่มา : ASEAN Secretariat, สถิติปี 2009

  37. โครงสร้างแรงงานอาเซียนโครงสร้างแรงงานอาเซียน

  38. โครงสร้างแรงงานอาเซียน 2010 จำแนกตามสาขา ที่มา:ILO 2010

  39. สัดส่วนการจ้างงานในอาเซียน จำแนกตามอาชีพ ที่มา:ASEAN Statistic Database สัดส่วน: เปอร์เซนต์

  40. สัดส่วนแรงงาน และ ค่าแรงขั้นต่ำของสมาชิกอาเซียน

  41. อัตราการว่างงานจำแนกรายประเทศอาเซียนอัตราการว่างงานจำแนกรายประเทศอาเซียน ที่มา:tradingeconomics.com, Bank of Thailand

  42. พันธกรณีของไทยกับอาเซียน กรณี : การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี

  43. ASEAN :กับเงื่อนไขการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีใน AEC. GATT AEC General Agreement on Tariffs and Trade ด้านการค้าบริการ FREE Flows of Skills Labour ภายใต้ MRA : Mutual Recognition Agreement GATS FRIF : Flows of Trade in Services General Agreement on Trade in Services AFAS : ASEAN Framework Agreement on Services

  44. ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อความต้องการแรงงานผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อความต้องการแรงงาน ต้องการแรง งานอาเซียน/ตปท กิจการในประเทศ ต้องการแรงงานในประเทศ เพิ่มการส่งออก/ลดต้นทุน เพิ่มการผลิตเพื่อส่งออก การเคลื่อนย้าย สินค้าเสรี กิจการ อาเซียนในไทย การเคลื่อนย้าย บริการเสรี ต้องการแรงงานไทย/อาเซียน การย้ายการลงทุนเสรี กิจการไทย ไปอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การย้ายแรงงาน ฝีมือเสรี

  45. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ

  46. AEC Blueprint เจตนารมณ์ของ AEC Blueprint คือการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือโดยเสรี(ทุกอาชึพ)เพื่อวัตถุประสงค์ของตลาดและฐานการผลิตเดียวอาเซียน (หรือการค้า/การลงทุนเสรี)(เริ่มจาก 7 วิชาชีพ) ไม่เจรจาผูกพันบุคคลต่างชาติที่เดินทางเข้ามาเพื่อหางานทำ (Job seekers) การขอสัญชาติ ถิ่นที่อยู่ หรือการจ้างงาน ที่เป็นการถาวร ไม่ห้ามการใช้มาตรการที่จำเป็นต่อการกำกับดูแลการเข้าเมืองของบุคคลต่างชาติ ทั้งนี้ต้องไม่กระทบผลประโยชน์ที่ได้จากข้อผูกพันที่มี

  47. MRAs: Mutual Recognition Arrangements(ข้อตกลงยอมรับร่วมกัน) ตามปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 (Bali Concord II) จากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 วันที่ 7 ตุลาคม 2546ณ เกาะบาหลี อินโดนีเซีย ได้กำหนดให้จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs)ด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายนักวิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีดังกล่าว เป็นการเคลื่อนย้ายเฉพาะแรงงานฝีมือและต้องมีคุณสมบัติตามมาตรฐานที่กำหนด ไว้ในข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (MRAs) ของอาเซียน

  48. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อตลาดแรงงานของไทยจากการเปิดตลาดการเคลื่อนย้ายบุคคลระหว่างประเทศผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อตลาดแรงงานของไทยจากการเปิดตลาดการเคลื่อนย้ายบุคคลระหว่างประเทศ By Inflows • การเปิดตลาดโดยมุ่งเน้นที่บุคคลและแรงงานระดับสูง (High skills) รวมถึงนักธุรกิจ และนักลงทุน จะเป็นส่วนสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการจ้างงานของไทย • ไทยไม่มีนโยบายเปิดตลาดแรงงานระดับกลาง-ล่าง (Semi-low skills) ดังนั้นจึงไม่กระทบตลาดแรงงานส่วนใหญ่ของไทย By Outflows • การเจรจาเปิดตลาดแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างกันจะเป็นการเปิดโอกาสเพิ่มขึ้นให้กับแรงงานของไทยสามารถไปทำงานยังต่างประเทศได้

  49. พันธกรณีของไทยในอาเซียนและเวทีระหว่างประเทศอื่นๆพันธกรณีของไทยในอาเซียนและเวทีระหว่างประเทศอื่นๆ 2. Intra-corporate transferees ผู้โอนย้ายภายในกิจการระหว่างประเทศ คุณสมบัติของบุคคล • บุคคลระดับ Managers, Executives, Specialists • ได้รับการจ้างงานในบริษัทที่เกี่ยวข้องมาไม่น้อยกว่า 1 ปี ระยะเวลาอนุญาตพำนัก • 1 ปี และอาจต่ออายุได้อีก 2 ครั้ง โดยต่อได้ครั้งละ 1 ปี กฎระเบียบอนุญาตทำงานของไทย • ต้องผ่านหลักเกณฑ์Management needs กำหนดโดยกรมการจัดหางาน ได้แก่ 1. ขนาดของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 2. การจ้างงาน 3. ขยายการลงทุนจากต่างชาติ 4. ส่งเสริมการส่งออก 5. การถ่ายทอดเทคโนโลยี และ 6. Special needs of the management

  50. บริการวิชาชีพ • บริการกฎหมาย • บริการบัญชี ตรวจสอบบัญชี • บริการด้านภาษี • สถาปัตยกรรม • สถาปัตยกรรมผังเมือง/ภูมิสถาปัตยกรรม • วิศวกรรม • วิศวกรรมแบบครบวงจร • แพทย์และทันตแพทย์ • สัตวแพทย์ • กายภาพบำบัด พยาบาล ผดุงครรภ์ ปฐมพยาบาล • บริการวิชาชีพอื่นๆ

More Related