1 / 6

MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร

MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร. output. outcome. Value chain. การวิจัยและพัฒนาตลาด. การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน. การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม. การพัฒนาระบบการตลาด. ปริมาณและมูลค่า การค้าการส่งออกเพิ่มขึ้น. พัฒนาคุณภาพชีวิต

paxton
Télécharger la présentation

MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร output outcome Value chain การวิจัยและพัฒนาตลาด การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม การพัฒนาระบบการตลาด ปริมาณและมูลค่า การค้าการส่งออกเพิ่มขึ้น พัฒนาคุณภาพชีวิต และรายได้เกษตรกร F : Specific field service ประเด็นพัฒนาให้สำเร็จ F1=การจัดการองค์กร F2=การพัฒนาบุคลากร F3= ยุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตรจังหวัดชุมพร F4=การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลผลิตให้ตรงกับตลาด F5=เทคโนโลยีการกระจายการผลิต (นอกฤดู) F6=การลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช การ แปรรูป ผลิตภัณฑ์ ผลไม้ F21=การรวบรวมและกระจายสินค้า F22=การวางแผนธุรกิจเกษตร(place ,product,price, promotion) F23=Branding ปะทิว ท่าแซะ M : Mapping วิเคราะห์สถานการณ์แปลงข้อมูลเป็นภาพนำเสนอในแผนที่ M1=จัดทำฐานข้อมูลการผลิตการเกษตร M2=ฐานข้อมูลปัจจัยพื้นฐานทางการผลิต (ชุดดิน,แหล่งน้ำ,ปริมาณน้ำฝน) M3=จัดทำแปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดคุณภาพ M4=จัดทำแปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดนอกฤดู M5=แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช M21=ศูนย์รวบรวมและกระจายผลผลิต เมืองชุมพร C : Community participation หลักฐานร่องรอยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง C1=วิสาหกิจชุมชน C2=ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน C3=อกม , Smart farmer,Smart Extension Officer C4=ศบกต C5=อปท ,จังหวัดชุมพร,กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย,ส่วนราชการและเอกชน C6=จัดเวที / ประชาคม /อบรม /ศึกษาดูงาน / ถ่ายทอดเทคโนโลยี สวี ทุ่งตะโก R : Remote sensing การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม,เครื่องมือส่งเสริมการเกษตร R1=ฐานข้อมูลเรื่องมังคุดและผลิตภัณฑ์มังคุด R2=องค์ความรู้เรื่องมังคุด R3=จัดทำระบบติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์ R4=จัดทำระบบ Online ให้คำปรึกษาการผลิตพืชปลอดภัย R5=มีระบบการเตือนภัยศัตรูพืชตามฤดูกาลและตามระยะการพัฒนาของพืช มีระบบพยากรณ์ศัตรูพืช ,มีระบบเตือนภัยจากสิ่งบอกเหตุ R6=website หลังสวน พะโต๊ะ ละแม

  2. MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)” ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน output outcome Value chain การวิจัยและพัฒนาตลาด การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม การพัฒนาระบบการตลาด ปริมาณและมูลค่า การค้าการส่งออกเพิ่มขึ้น พัฒนาคุณภาพชีวิต และรายได้เกษตรกร F : Specific field service ประเด็นพัฒนาให้สำเร็จ F1=ท่ามะพลาโมเดล F2=การพัฒนาบุคลากร F3=แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล F4=การจัดการพื้นที่ จัดการน้ำ ดิน ปุ๋ย ศัตรูพืช การเก็บเกี่ยว F5=การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานให้ตรงกับตลาด F6=เทคโนโลยีการกระจายการผลิต F7=การลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช การ แปรรูป ผลิตภัณฑ์ มังคุด F21=การรวบรวมและกระจายสินค้า F22=การวางแผนธุรกิจเกษตร F23=Branding (มังคุดท่ามะพลากินได้ทุกลูก) M : Mapping วิเคราะห์สถานการณ์แปลงข้อมูลเป็นภาพนำเสนอในแผนที่ M1=จัดทำฐานข้อมูลการผลิตการเกษตร M2=ฐานข้อมูลปัจจัยพื้นฐานทางการผลิต (ชุดดิน,แหล่งน้ำ,ปริมาณน้ำฝน) M3=จัดทำแปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดคุณภาพ (GAP) M4=จัดทำแปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดนอกฤดู (ต้นแบบ) M5=แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช M6=ข้อมูลแปลงผลิตมังคุดสมาชิกกลุ่ม M21=ศูนย์รวบรวมและกระจายผลผลิต (ตลาดประมูลผลผลิตมังคุด) C : Community participation หลักฐานร่องรอยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง C1-วิสาหกิจชุมชนกลุ่มมังคุดศูนย์เรียนรู้การเกษตรท่ามะพลา C2=ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน C3=อกม , Smart farmer Smart Extension Officer C4=ศบกต C5=อบต ,จังหวัดชุมพร,ส่วนราชการและเอกชน C6=จัดเวที / ประชาคม /อบรม /ศึกษาดูงาน / ถ่ายทอดเทคโนโลยี R : Remote sensing การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม,เครื่องมือส่งเสริมการเกษตร R1=ฐานข้อมูลเรื่องมังคุดและผลิตภัณฑ์มังคุด R2=องค์ความรู้เรื่องมังคุด R3=จัดทำระบบติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์ R4=จัดทำระบบ Online ให้คำปรึกษาการผลิตพืชปลอดภัย R5=มีระบบการเตือนภัยศัตรูพืชตามฤดูกาลและตามระยะการพัฒนาของพืช มีระบบพยากรณ์ศัตรูพืช ,มีระบบเตือนภัยจากสิ่งบอกเหตุ R6=website

  3. F MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)” ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน ระยะการเจริญเติบโตและขั้นตอนการปฏิบัติดูแลมังคุด ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร พักตัวหลังเก็บเกี่ยว (กย. – ตค.) แตกใบอ่อน -เติบโตทางใบ (พย. – ธค.) ก่อนออกดอก (มค. – กพ.) ออกดอก (มีค. – เมย.) ผลอ่อน-ผลแก่ (พค. – มิย.) เก็บเกี่ยว (กค. – สค.) - การตัดแต่งกิ่ง - การจัดการปุ๋ย - การจัดการน้ำ - การกระตุ้นให้ แตกใบอ่อน - การจัดการศัตรูพืช - การเตรียมความพร้อมสำหรับการ ออกดอก - การชักนำให้ออกดอก - การจัดการศัตรูพืช - การควบคุม ปริมาณดอกให้เหมาะสม - การจัดการน้ำ - การจัดการศัตรูพืช - การควบคุม ปริมาณผล - การจัดการน้ำ ปุ๋ย - การดูแลผลแก่ - การจัดการศัตรูพืช - การพิจารณาเก็บเกี่ยวผลที่สุก - การทำความ สะอาดผล - การคัดขนาด - การแยกเกรด - การตัดแต่งกิ่ง - การทำความ สะอาดแปลง - การจัดการดิน น้ำ - อัตราการใช้ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยคอก - การจัดการศัตรูพืช

  4. C MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)” ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน การมีส่วนร่วมของชุมชน สมาชิก ภาคี ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ช่วยเหลือเกื้อกูล เวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ของกลุ่ม ดูงานซึ่งกันและกัน สมาชิกร่วมกันคัดเกรดผลผลิตก่อนการประมูล สมาชิกร่วมตัดสินใจคัดเลือกผู้ประมูล สมาชิกร่วมกันแปรรูปผลผลิต

  5. M MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)” ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน กลุ่มมังคุดศูนย์เรียนรู้การเกษตรท่ามะพลา สมาชิก ๑๔๕ ราย พื้นที่ปลูกมังคุด ๘๐๓ ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย (๒๕๕๖)ในฤดู = ๘๕๙ กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย (๒๕๕๖)นอกฤดู = ๑,๒๕๗ กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตรวม (๒๕๕๖) = ๑,๗๐๐ ตัน ราคาผลผลิตมังคุดเฉลี่ย (๒๕๕๖)= ๔๐ บาทต่อกิโลกรัม มูลค่ารวม ๖๘ ล้านบาท ปี ๒๕๕๕ ผลผลิต ๘๐๐ ตัน ช่วงเก็บเกี่ยว สค-กย ราคาผลผลิตเฉลี่ย ๓๖ บาท/กิโลกรัม ปี ๒๕๕๖ ผลผลิต ๑,๗๐๐ ตัน. ผลผลิตในฤดู ๖๙๐ ตัน ผลผลิตนอกฤดู ๑๐๑๐ ตัน ช่วงเก็บเกี่ยว สค-กย,มค-กพ ราคาผลผลิตเฉลี่ย ๔๐ บาท/กิโลกรัม แปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดนอกฤดู นายสมพงษ์ จินาบุญ ประมาณการปี ๒๕๕๗ ผลผลิต ๑,๐๐๐ ตัน ช่วงเก็บเกี่ยว มิย-สค แปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดคุณภาพ นายปรเมศ เพชรโสม แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูมังคุด นายสิทธิพงษ์ อรุณรักษ์ ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน

  6. R MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)” ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน โทรศัพท์ นายสมพงษ์ จินาบุญ ประธานกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนกลุ่มมังคุดศูนย์เรียนรู้การเกษตรท่ามะพลา นายสิทธิพงษ์ อรุณรักษ์ รองประธานกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนกลุ่มมังคุดศูนย์เรียนรู้การเกษตรท่ามะพลา ๐๘๗ ๘๙๘ ๐๙๓๐ ๐๘๗ ๖๒๗ ๐๐๗๑ website http://gotoknow.org/blog/magr http://www.k-center.doae.go.th ท่ามะพลาโมเดล

More Related