1 / 28

แผนกเครื่องมือตรวจอากาศ

แผนกเครื่องมือตรวจอากาศ. AN/FMQ-22, Fixed-Base System. AN/FMQ-19, Automatic Meteorological Station. AN/TMQ 53 Tactical Meteorological Observing System. ML-102 aneroid barometer. ความกดอากาศ. อ่านค่าความกดอากาศที่สถานีได้ 28.890

pelham
Télécharger la présentation

แผนกเครื่องมือตรวจอากาศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนกเครื่องมือตรวจอากาศแผนกเครื่องมือตรวจอากาศ

  2. AN/FMQ-22, Fixed-Base System

  3. AN/FMQ-19, Automatic Meteorological Station.

  4. AN/TMQ 53 Tactical Meteorological Observing System

  5. ML-102 aneroid barometer

  6. ความกดอากาศ

  7. อ่านค่าความกดอากาศที่สถานีได้ 28.890 ค่าแก้ประจำเครื่องที่ความกดอากาศ 29.000 ขณะความกดอากาศเพิ่ม มีค่าแก้ 28.990 (0.010) การบันทึกค่าความกดอากาศที่สถานี 28.890 + 0.010 = 28.900

  8. อ่านค่าความกดอากาศที่สถานีได้ 27.450 ค่าแก้ประจำเครื่องที่ความกดอากาศ 27.500 ขณะความกดอากาศเพิ่ม มีค่าแก้ 27.490 (0.010) การบันทึกค่าความกดอากาศที่สถานี 27.450 + 0.010 = 27.460 อ่านค่าความกดอากาศที่สถานีได้ 27.450 ค่าแก้ประจำเครื่องที่ความกดอากาศ 27.500 ขณะความกดอากาศลด มีค่าแก้ 27.494 (0.006) การบันทึกค่าความกดอากาศที่สถานี 27.450 + 0.006 = 27.456

  9. อุณหภูมิต่ำสุดประจำวันอุณหภูมิต่ำสุดประจำวัน

  10. คำสั่ง กองอุตุนิยมวิทยา อศ. เรื่อง การตรวจอุณหภูมิต่ำสุด ที่ ๙/๘๕ ลง ๔ ก.ค.๘๕ ลงชื่อ น.ต.จรูญ วิชชาภัย บุนนาค หัวหน้ากองอุตุนิยมวิทยา

  11. สนามตรวจอากาศ (สนามอุตุนิยมวิทยา)

  12. 1. เครื่องมือชนิดกลางแจ้งควรได้รับการติดตั้งในสนามอุตุนิยมวิทยาที่มีระดับพื้นดิน โดยขนาดพื้นที่ ไม่น้อยกว่า 25×25 ตารางเมตร อันประกอบไปด้วยเครื่องมือหลายชนิด แต่ในกรณีที่มีเครื่องมือจำนวนน้อย (รูปที่ 1.1) อาจพิจารณาให้พื้นที่เล็กกว่าได้ เช่น 10×7 ตารางเมตร (ในพื้นที่ล้อมรอบ) บนพื้นควรมีหญ้าปกคลุมหรือพื้นผิวโดยมีลักษณะความเป็นตัวแทนท้องถิ่นและล้อมรอบด้วยรั้วไม้เพื่อป้องกันบุคคลภายนอก 2. พื้นสนามอุตุนิยมวิทยาควรราบเรียบและไม่ควรลาดเอียง หรือเป็นโพรงหรือหุบต่ำกว่าพื้นโดยรอบ หาไม่แล้วผลการวัดต่างๆ อาจผิดเพี้ยนไปจากลักษณะความเป็นตัวแทนของท้องถิ่น 3. สนามอุตุนิยมวิทยาควรตั้งอยู่ห่างจากต้นไม้ อาคาร ผนังหรือสิ่งกีดขวางอื่นๆ ระยะห่างของสิ่งกีดขวาง (รวมทั้งรั้ว) จากถังวัดฝนและแอนนิโมมิเตอร์วัดลม ควรไม่น้อยกว่าสองเท่าของความสูงของวัตถุที่เหนือกว่าขอบถัง หรือควรเป็นสี่เท่าของความสูงหากทำได้

  13. 4. เครื่องวัดความยาวนานแสงแดด ถังวัดปริมาณน้ำฝน และแอนนิโมมิเตอร์จะต้องถูกติดตั้งอย่างเป็นไปตามข้อกำหนดโดยเฉพาะกับเครื่องมือชนิดอื่นในสนามเดียวกัน 5. ข้อสังเกตเกี่ยวกับรั้วสนามอุตุนิยมวิทยาอาจทำให้สถานที่ที่ไม่ดีที่สุดสำหรับการประมาณความเร็วและทิศของลม จุดตรวจอื่นที่เปิดโล่งได้มากกว่าอาจจำเป็นสำหรับการตรวจวัดลม 6. พื้นที่เปิดมากๆ เหมาะสำหรับการติดตั้งเครื่องมือส่วนใหญ่แต่อาจไม่เหมาะสำหรับการวัดฝน เนื่องจากลมแรงอาจทำให้การเก็บปริมาณฝนได้ลดลงกว่าพื้นที่ที่มีลมอ่อน 7. กรณีเครื่องมือมีการปิดล้อมหรือกำบังด้วยต้นไม้หรืออาคาร ควรพิจารณาหาตำแหน่งที่เหมาะสมสำหรับการตรวจวัดความยาวนานแสงแดดหรือรังสีดวงอาทิตย์

  14. 8. ตำแหน่งที่ใช้ในการสังเกตเมฆและทัศนวิสัยควรเป็นพื้นที่เปิดโล่งมากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้เพื่อสามารถมองเห็นท้องฟ้าและภูมิประเทศโดยรอบได้ 9. สถานีตรวจอากาศชายฝั่งทะเล จำเป็นต้องสามารถเห็นทะเลเปิด อย่างไรก็ตามสถานีนี้ไม่ควรอยู่ใกล้หน้าผาสูงเพราะการเกิดลมหมุนเนื่องจากการปะทะหน้าผา ทำให้มีผลต่อการตรวจวัดลมและการวัดฝนได้ 10. การตรวจวัดเมฆและทัศนวิสัยในเวลากลางคืนที่ดีที่สุดทำได้ในสถานีซึ่งไม่ถูกรบกวนจากแสงภายนอก ข้อกำหนดในการตั้งสถานีตรวจวัดอากาศอาจมีข้อจำกัดหรือขัดแย้งกันอยู่อย่างชัดเจนและต้องการความยืดหยุ่นในบางครั้งซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับความเหมาะสมเฉพาะเครื่องมือและการตรวจวัดประกอบการพิจารณา

More Related