1 / 28

กรมอุตุนิยมวิทยา

สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว. กรมอุตุนิยมวิทยา. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. เหตุการณ์แผ่นดินไหว ขนาด 6.3 R เมื่อวันที่ 5 พ.ค. 2557 ที่ จ. เชียงราย. ภารกิจสำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว.

Télécharger la présentation

กรมอุตุนิยมวิทยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวสำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เหตุการณ์แผ่นดินไหว ขนาด 6.3 R เมื่อวันที่ 5 พ.ค. 2557 ที่ จ. เชียงราย

  2. ภารกิจสำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวภารกิจสำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว • ทำหน้าที่เป็นเครือข่ายหลักตรวจแผ่นดินไหวของประเทศไทย อย่างต่อเนื่องปฏิบัติงานเฝ้าระวังและติดตามแผ่นดินไหวและสึนามิ ตลอด 24 ชั่วโมง • ควบคุม ดูแล บำรุงรักษาระบบเครือข่ายตรวจแผ่นดินไหวระดับชาติ ให้พร้อมทำงานต่อเนื่องตลอดเวลา

  3. ติดตาม ตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาตำแหน่ง ขนาด เวลาเกิด สำหรับการรายงานและแจ้งเตือนภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ ตามข้อกำหนด SOP( Standard Operating Procedure)ในระดับภูมิภาคและระดับโลก

  4. ภารกิจสำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวภารกิจสำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว • ตรวจวัดแผ่นดินไหวเพื่องานวิศวกรรมแผ่นดินไหวใช้เครื่องตรวจวัดความสั่นสะเทือนแบบวัดอัตราเร่งของพื้นดิน • จัดทำฐานข้อมูลแห่งชาติและบริการข้อมูล ด้านแผ่นดินไหว วิศวกรรมแผ่นดินไหว สึนามิ เพื่อการเตือนภัย ศึกษาวิจัย กฏหมายควบคุมอาคารต้านแผ่นดินไหว วางแผนใช้ประโยชน์ที่ดิน ด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวของประเทศ

  5. ถ่ายทอดองค์ความรู้ คำปรึกษา แก่ หน่วยงาน องค์กรภาครัฐและเอกชน สถาบันการศึกษา และประชาชน ที่เกี่ยวข้อง ติดต่อประสานงาน หน่วยงาน องค์กรต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหว สึนามิ ระดับน้ำทะเลและการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก

  6. แผนภาพแผ่นดินไหวรู้สึกได้ในประเทศไทยแผนภาพแผ่นดินไหวรู้สึกได้ในประเทศไทย ตำแหน่งแผ่นดินไหวที่ตรวจวัดด้วยเครื่องมือตั้งแต่ปี พ.ศ 2443-2556 และมีขนาดที่ใหญ่เพียงพอ ทำให้ประชาชนในบริเวณใกล้เคียงตำแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว รู้สึกถึงการสั่นสะเทือนและบางครั้งเกิดความเสียหาย

  7. แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวที่ส่งผลกระทบประเทศไทยแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวที่ส่งผลกระทบประเทศไทย • แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวภายนอกประเทศ จาก แนวแผ่นดินไหวของโลกบริเวณทะเลอันดามัน สุมาตรา รอยเลื่อนในพม่า รอยเลื่อนจากตอนใต้ของจีน รอยเลื่อนในประเทศลาว รอยเลื่อนในเวียตนาม • แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวภายในประเทศ จากรอยเลื่อน มีพลัง ส่วนใหญ่ บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคใต้

  8. การประเมินภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทยการประเมินภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย • ภัยจากแผ่นดินไหวศูนย์กลางภายนอกประเทศ -ศูนย์กลางบนบก ใกล้พรมแดนประเทศไทย ขนาดตั้งแต่ 6.0 ริกเตอร์ อาจทำให้เกิดความเสียหายกับสิ่งก่อสร้าง ที่อยู่อาศัย ตั้งแต่ระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง -ศูนย์กลางบนบกหรือทะเลระยะไกลตั้งแต่ 400-1000 กิโลเมตรซึ่งมีขนาดตั้งแต่ 6.0 ริกเตอร์ อาคารสูงในเมืองสั่นไหวง่าย อาจมีความเสียหายเล็กน้อย

  9. ศูนย์กลางในทะเลฝั่งอันดามัน ตั้งแต่ 7.8 ริกเตอร์ อาจเกิดสึนามิและซัดชายฝั่งหลังเกิดเหตุประมาณ 2 ชั่วโมง

  10. การประเมินภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทยการประเมินภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย • ภัยจากแผ่นดินไหวศูนย์กลางภายในประเทศ - ศูนย์กลางบนบก จากรอยเลื่อนมีพลัง ซึ่งประเมินว่าบางรอยเลื่อนมีศักยภาพทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใกล้ 7.0 ริกเตอร์ หากเกิดใกล้ชุมชนในรัศมีประมาณ 30 กิโลเมตรอาคาร ที่อยู่อาศัย อาจได้รับอันตรายในระดับปานกลางถึงรุนแรงรวมถึงชุมชนเมืองที่มีอาคารสูงและตั้งอยู่บนดินอ่อน

  11. ศูนย์กลางใกล้แม่น้ำ ทะเลสาบ แหล่งน้ำใหญ่ ขนาดเกิน 5.0 ริกเตอร์อาจเกิดอันตรายของสิ่งก่อสร้างจากดินมีสภาพเหลว • บริเวณเคยมีข้อมูลในประวัติศาสตร์ว่าเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เช่น โยนกนคร

  12. สถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวดิจิตอล 41 แห่ง สถานีตรวจแผ่นดินไหวอะนาล๊อก7 แห่ง สถานีวัดอัตราเร่งพื้นดิน 26 แห่ง สถานีวัดระดับน้ำทะเล 9 แห่ง สถานีวัดความเร็วของเปลือกโลก 4 แห่ง แผ่นดินไหว ข้อมูลสถานีตรวจแผ่นดินไหว ต่างประเทศแบบเวลาจริง 150 แห่ง ความร่วมมือด้านวิชาการทั้งภายในและต่างประเทศ สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา รวบรวม วิเคราะห์ เผยแพร่ แจ้งข่าว เตือนภัย แลกเปลี่ยนข้อมูล ประสานงาน ความร่วมมือ วิจัยพัฒนา ให้คำแนะนำ ข่าวสารด้านแผ่นดินไหว สึนามิจาก เครือข่าย PTWC,GEOFON EMSC,AEIC และอื่นๆ ผ่าน GTS,internet, fax, Hotline,email คณะกรรมการ ที่เกี่ยวข้องกับภัยพิบัติ หน่วยงานด้านภัยพิบัติ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กรมโยธาธิการ กรมทรัพยากรธรณี กรุงเทพมหานคร อื่นๆ สื่อมวลชน ทีวี วิทยุ หนังสือพิมพ์ ประชาชนทั่วไปและที่อาศัย ในพื้นที่เสี่ยงภัย

  13. Real-Time Seismic stations • Phase 1 • 15 stations (8MP 40s, 7BB 120s) • Seismometors of Nanometric Trillium-40 & Trillium-120 • Dataloggers of Nanometric Taurus • Sampling rate 100Hz • Real time telemetry via (TCP/IP) Internet ADSL or IP-star satellite • Phase 2 • 26 stations (15SP 1s, 11BB 120s) • Seismometors of Geotech S-13 , KS-2000 & KS-2000BH • Dataloggers of Geotech Smart-24 • Sampling rate 50Hz for SP and 100Hz for BB • Real time telemetry via (TCP/IP) Internet ADSL or IP-star satellite

  14. Strong motion acceleration stations • 26 strong motion station • 6 stations with TSA-100S + Taurus • 20 stations with PA-23 + Smart-24 • Sampling rate 100Hz • 3 components • Data transfer via Dial-up modem

  15. พม่า ลาว สถานีวัดการเคลื่อนตัวเปลือกโลก 4 แห่ง สถานีตรวจแผ่นดินไหวระยะที่ 2 25 แห่ง สถานีวัดอัตราเร่งพื้นดินระยะที่ 2 20 แห่ง อันดามัน กัมพูชา สถานีวัดอัตราเร่งพื้นดินระยะแรก 6 แห่ง อ่าวไทย สถานีตรวจแผ่นดินไหวระยะแรก 15 แห่ง สถานีวัดระดับน้ำ 9 แห่ง

  16. Router TMD Bangkok Router Remote Stations PHASE I

  17. สถานะการจัดการภัยแผ่นดินไหวและสึนามิในปัจจุบัน สถานะการจัดการภัยแผ่นดินไหวและสึนามิในปัจจุบัน

  18. การเตรียมการรับมือแผ่นดินไหวการเตรียมการรับมือแผ่นดินไหว • การวางแผนรับมืออย่างเป็นระบบ ทั้งระยะสั้น ระยะยาว ก่อนเกิดแผ่นดินไหว ระบบตรวจวัดมีมาตรฐาน การศึกษาวิจัยด้านแผ่นดินไหวและวิศวกรรมแผ่นดินไหว การกำหนดพื้นที่ เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว การวางแผนปฏิบัติและแบบจำลองเหตุการณ์ การฝึกซ้อม ความแข็งแรงของอาคาร ขณะเกิดแผ่นดินไหว ความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนตามสถานะการณ์ หลังเกิดแผ่นดินไหว การเข้าถึงพื้นที่ การช่วยเหลือมีความพร้อมทั้งเครื่องมือและกำลังคน และงบประมาณเพื่อกรณีฉุกเฉินและฟื้นฟูระยะยาว

  19. สรุปความเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวและสึนามิสรุปความเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวและสึนามิ • บริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว ส่วนมากอยู่ใกล้บริเวณรอยเลื่อนมีพลังในภาคเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้ • พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว ในบริเวณที่เป็นดินอ่อนและมีอาคารสูง ซึ่งสั่นไหวได้ง่ายจากแผ่นดินไหวใหญ่ระยะไกล เช่น กรุงเทพฯ และปริมณฑล • บริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิ ชายฝั่งด้านตะวันตก มหาสมุทรอินเดียมีความเสี่ยงมากกว่าด้านฝั่งตะวันออก

  20. ความพร้อมการตรวจวัดแผ่นดินไหวความพร้อมการตรวจวัดแผ่นดินไหว • แจ้งข่าวสารและเตือนภัย ภายในระยะเวลา 5 - 25 นาที สำหรับแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นภายในและนอกประเทศ • ปฏิบัติงานการเฝ้าระวังและติดตามตลอด 24 ชั่วโมง • มีช่องทางการให้บริการข้อมูลที่ ฉับไว ทันเหตุการณ์ ผ่านช่องทาง Telephone, Fax, SMS, Website, Social Media และอื่นๆ ตลอด 24 ชั่วโมง

  21. การเตรียมพร้อม • การเตรียมการเฝ้าระวังสึนามิและเตือนภัย กรมอุตุนิยมวิทยา สามารถทำได้รวดเร็วทันการณ์ และสามารถสร้างความเชื่อมั่นในการเตือนภัยสึนามิให้กับประชาชน • ยังคงต้องมีการเตรียมความพร้อม ศึกษาวิจัย ด้านแผ่นดินไหวและสึนามิอย่างต่อเนื่อง เพราะความรู้และข้อมูลเรื่องแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวและ สึนามิยังไม่สมบูรณ์ ครบถ้วน • คำนึงถึงภัยอื่นซึ่งเป็นผลกระทบจากแผ่นดินไหว เช่น ไฟไหม้ การแพร่กระจายสารพิษ กัมมันตภาพรังสี น้ำท่วม • การจัดพื้นที่เสี่ยงภัย การฝึกซ้อม การวางแผนและมาตรการต่างๆ

  22. WWW.SEISMOLOGY.TMD.GO.TH

  23. สิ่งที่ท้าทายสำหรับกรมอุตุนิยมวิทยาและงานที่ยังคงต้องพัฒนาต่อเนื่องท่ามกลางข้อจำกัดสิ่งที่ท้าทายสำหรับกรมอุตุนิยมวิทยาและงานที่ยังคงต้องพัฒนาต่อเนื่องท่ามกลางข้อจำกัด • ระบบตรวจวัดความสั่นสะเทือนในพื้นที่เสี่ยง เพื่อสนับสนุนงานด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหว • ระบบตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณรอยเลื่อนมีพลัง • การพัฒนาบุคคลากร • การประสาน ความร่วมมืองานเชิงวิชาการ งานวิจัยและปฏิบัติการ ทั้งภายในและต่างประเทศ • การรักษาคุณภาพงานให้มีมาตรฐานและประสิทธิภาพ จากปัจจัยความเสื่อมสภาพ ชำรุดเสียหาย เครื่องมือฯ จากการใช้งานเป็นระยะเวลาเกือบ 10 ปี

  24. ข้อสรุป • สถิติข้อมูลแผ่นดินไหวประเทศไทยมีความเสี่ยงต่อภัยแผ่นดินไหวขนาดปานกลางระดับต่ำกว่า 6.5 ริกเตอร์ บริเวณรอยเลื่อนมีพลังและมีความเสี่ยงมาก จากปัจจัยของความเจริญและการขยายตัวของเมือง • บางพื้นที่ซึ่งมีข้อมูลแผ่นดินไหวใหญ่ในประวัติศาสตร์และเป็นอันตรายมาก จำเป็นต้องทำการศึกษา วิจัยให้ทราบข้อเท็จจริงเพื่อการเตรียมความพร้อม Prevention is the best treatment

  25. ขอบคุณ THANK YOU

More Related