1 / 26

บทบาทและการสนับสนุนการดำเนินงาน คัดกรองเบาหวาน ของ สปสช.

บทบาทและการสนับสนุนการดำเนินงาน คัดกรองเบาหวาน ของ สปสช. นายแพทย์กิตติ ปรมัตถผล ผู้อำนวยการแผนงาน สำนักสนับสนุนเครือข่ายระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. ห้างานเน้นหนักในห้าปีข้างหน้าของ สปสช.

percy
Télécharger la présentation

บทบาทและการสนับสนุนการดำเนินงาน คัดกรองเบาหวาน ของ สปสช.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทและการสนับสนุนการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน ของ สปสช. นายแพทย์กิตติ ปรมัตถผล ผู้อำนวยการแผนงาน สำนักสนับสนุนเครือข่ายระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  2. ห้างานเน้นหนักในห้าปีข้างหน้าของ สปสช. • ระบบบริการใกล้บ้านใกล้ใจและสุขภาพชุมชน (ระบบบริการปฐมภูมิ และกองทุนสุขภาพ อปท.) • สร้างนำซ่อม ช่วยคนไทยห่างไกลโรค ( P&P) • ป้องกันและควบคุมภัยเงียบ ( DM/HT ) • ป้องกันล้มละลายจากโรคค่าใช้จ่ายสูง (หัวใจ/มะเร็ง/ไตวาย) • 5. บริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ • (มิตรภาพบำบัด เพื่อนช่วยเพื่อน ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ผู้ป่วย และผู้สูงอายุ)

  3. ความชุกของ DM ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เพิ่มจากร้อยละ 4.4 (2540), ร้อยละ 6.9 (2547) และร้อยละ 6.9 (2552) ปัจจุบันมีผู้ป่วย DM ประมาณ 3.2 ล้านคน ความชุกของ HT ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เพิ่มจากร้อยละ 11 (2540), ร้อยละ 22 (2547) และร้อยละ 21.4 (2552) ปัจจุบันมีผู้ป่วย HT ประมาณ 10 ล้านคน มีจำนวนผู้ป่วย DM ที่อยู่ในระบบบริการ เพียง 41% ,(HT 29%) ผู้ป่วย DM สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ( HbA1c <7) ร้อยละ 35.6 (2553),ร้อยละ 34.8 (2554) ผู้ป่วย HT ที่สามารถควบคุมความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม (≤140/90 mmHg) ร้อยละ 62.2 (2553),ร้อยละ 66.1 (2554) เป็นปัญหาที่ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่สำคัญที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยและค่าใช้จ่ายโดยรวมด้านสาธารณสุข ได้แก่ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด แผลเรื้อรังและถูกตัดขา ตัดนิ้ว (ที่มาของข้อมูล :ผลการวิจัย สวรส. ปี2552 และ CRCN) ปัญหาและความสำคัญของ DM/HT

  4. เป้าหมายการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ โรค DM/HT ปี 2553-2555 (ต่อ) • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - NCD Board เป็นกลไกระดับจังหวัดและพัฒนา System Manager Team เป็นแกนนำในการดำเนินงาน ncdการมีส่วนร่วมของทุกๆส่วน ตั้งใจให้เป็นเจ้าภาพงานนี้กับสสจ. - มีระบบข้อมูลผู้ป่วย DM/ HT ของพื้นที่ • โรงพยาบาลทุกระดับ - พัฒนา DM/HT Case Manager - ปรับคลินิก DM/HT เป็น Chronic caremodel - มีข้อมูลและการส่งต่อผู้ป่วยสู่เครือข่ายปฐมภูมิ - เพิ่มการมีส่วนร่วมของชมรมผู้ป่วย และญาติ • ศูนย์แพทย์ชุมชน/รพ.สต. - มีระบบบริการ DM/HT - สนับสนุนกิจกรรม DM/HT ในชุมชน • กองทุนอบต./เทศบาล - กิจกรรม DM/HT อยู่ในแผน - มีการตรวจคัดกรองความเสี่ยง และตรวจ DM/HT - สนับสนุนการตั้งชมรม DM/HT ที่มีกิจกรรมทุกชุมชน สสจ.กับกสธ.ขยับตัวโอเค(ขยับตัวกลไกพื้นฐาน),ท้องถิ่นบ้าง,กทม.น้อย

  5. เป้าหมายระยะที่ 2 (2556-2560)

  6. เป้าหมายระยะที่ 2 (2556-2560) ต่อ * ลดลงจากปี 2555

  7. แผนงานในระยะต่อไป(2556-2560)แผนงานในระยะต่อไป(2556-2560) เป้าหมายการดำเนินงาน พัฒนาระบบบริการสนับสนุนการจัดการตนเองของผู้ป่วย (Self Management Support) 2. สร้างและพัฒนาทีมสหสาขาวิชาชีพในการพัฒนาระบบบริการควบคุมป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการตัดนิ้ว/เท้า/ขาในผู้ป่วยเบาหวาน 3. พัฒนาระบบข้อมูลและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ สสจ.ให้เป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการโรคเรื้อรังในจังหวัดอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคีเครือข่ายสำคัญ (Strategic Partnership)ในการบริหารจัดการโรคเรื้อรังทุกระดับ

  8. Action Plan (2556-2560)

  9. Action Plan (2556-2560)

  10. Action Plan (2556-2560)

  11. Action Plan (2556-2560)

  12. กองทุนต่างๆของ สปสช.

  13. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุน สามารถสนับสนุนกิจกรรมได้ 4 ลักษณะ ดังนี้คือ 1) การจัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่มหลัก ได้แก่ หญิงมี ครรภ์ เด็กแรกเกิด- 5 ปี เด็กโต 6-25 ปี ผู้ใหญ่อายุ 25 ปีขึ้นไป และกลุ่มผู้พิการ ทุพพลภาพ 2) การสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยงานบริการสุขภาพที่อยู่ในชุมชนท้องถิ่น เช่น สถานี อนามัย ศูนย์บริการสาธารณสุข โรงพยาบาลชุมชน 3) การสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่น 4) การบริหารกองทุน/พัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนและอื่นๆให้มีประสิทธิภาพมาก ขึ้น ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของระบบหลักประกันสุขภาพในรอบปีงบประมาณนั้น

  14. ผลลัพธ์การควบคุมป้องกันความรุนแรงของโรค DM/HT ระยะที่ 1(2553-2555)

  15. 1.อัตราการเข้าถึงบริการ1.อัตราการเข้าถึงบริการ 1.1 อัตราการเข้าถึงบริการสิทธิ UC อายุ 15 ปีขึ้นไปเปรียบเทียบกับอัตราความชุกของการเกิดโรค ที่มา 1.อัตราความชุกของการเกิดโรคตามผลสำรวจของ NHES ปี2552 DM=6.9% ,HT= 21.4% 2.ข้อมูลจากฐาน OP/PP Individual ตัดข้อมูล ณ 31สค.55 เป็นผลงานถึง30 มิถุนายน 2555

  16. 1.อัตราการเข้าถึงบริการ1.4 จำนวนผู้ป่วยDMHT ปี55 จำแนกตามกลุ่ม 63.3% 63.9% 64.1% 36.7% 37.1%

  17. สรุปจำนวนการให้บริการ LS55 ครึ่งปีแรก

  18. การจ่ายชดเชยกรณีรองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวานที่มีข้อบ่งชี้การจ่ายชดเชยกรณีรองเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวานที่มีข้อบ่งชี้

  19. จำนวนผู้ป่วยที่รับเข้าโรงพยาบาล ด้วยภาวะ Stroke และมีโรคร่วมเป็น DM,HTปีงบประมาณ 2548-2555(ปี 55 เดือน ตค-มค.55)

  20. ภาพแสดงการดำเนินกิจกรรมรายกลุ่มโรคที่สำคัญของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปี 2549-2555 หน่วย : โครงการ ปี ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2555

  21. ขอบคุณครับ

More Related