170 likes | 315 Vues
โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ. โดยสำนักธรรมมาภิบาลธุรกิจ. 1. โครงสร้าง. ข้าราชการ 19 คน พนักงานราชการ 3 คน ลูกจ้างเหมา 1 คน. สำนักธรรมาภิบาลธุรกิจ. ฝ่ายบริหารทั่วไป. ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 1. ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 2.
E N D
โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ โดยสำนักธรรมมาภิบาลธุรกิจ
1 โครงสร้าง ข้าราชการ 19 คน พนักงานราชการ 3 คน ลูกจ้างเหมา 1 คน สำนักธรรมาภิบาลธุรกิจ ฝ่ายบริหารทั่วไป ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 1 ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 2 ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 3 ส่วนตรวจสอบธุรกิจ 4 - งานสารบรรณและงาน ธุรการทั่วไป - งานงบประมาณ และพัสดุ - รายงานแผน/ผลการ ปฏิบัติงานประจำเดือน - ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย - กำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจ ให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ การประกอบธุรกิจของคน ต่างด้าว พ.ศ. 2542 - กำกับดูแลการประกอบธุรกิจ ของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาต และการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ กำหนดในใบอนุญาตประกอบ ธุรกิจของคนต่างด้าว - ติดตามการถ่ายทอดเทคโนโลยี ตามแผนงานการถ่ายทอด เทคโนโลยีที่ธุรกิจต่างด้าวจัดทำ - ตรวจสอบกรณีธุรกิจหลีกเลี่ยง/ ฝ่าฝืนการปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติการประกอบ ธุรกิจของคนต่างด้าว - ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย - กำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจ ให้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยห้าง หุ้นส่วนและบริษัท และ พ.ร.บ. ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 - กำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจ เพื่อบังคับใช้ พ.ร.บ. กำหนด ความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจด ทะเบียน ห้างหุ้นส่วน จำกัด สมาคมและมูลนิธิ พ.ศ. 2499 - ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย - กำกับดูแลและตรวจสอบ ธุรกิจให้ปฏิบัติตาม พ.ร.บ. บริษัทมหาชน จำกัด พ.ศ. 2535 - กำกับดูแลและตรวจสอบ ธุรกิจให้ปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ. 2543 และ พระราชบัญญัติวิชาชีพ บัญชี พ.ศ. 2547 - ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย - กำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจ ให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ หอการค้า พ.ศ. 2509 และ พระราชบัญญัติสมาคมการค้า พ.ศ. 2509 - ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
2 ภารกิจของสำนักธรรมาภิบาลธุรกิจ การกำกับดูแลธุรกิจให้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและมีธรรมาภิบาล ถือเป็นพันธกิจที่สำคัญของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า โดยปัจจุบันมีนิติบุคคลจดทะเบียนจัดตั้ง จำนวนกว่า 960,000 ราย มีนิติบุคคลคงอยู่กว่า 540,000 ราย มีการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวกว่า 4,500 ราย และมีการจดทะเบียนจัดตั้งใหม่เพิ่มขึ้นปีละกว่า 42,000 ราย ซึ่งต้องมีการบริหารจัดการ การส่งเสริม และกำกับดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างถูกต้อง เป็นไปตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ 9 ฉบับของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือและธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้นกับภาคธุรกิจ ลดผลกระทบความเสียหายต่อประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศ ส่งเสริมให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศเข้มแข็ง เติบโตอย่างยั่งยืน
ภารกิจของสำนักธรรมาภิบาลธุรกิจภารกิจของสำนักธรรมาภิบาลธุรกิจ สำนักธรรมาภิบาลธุรกิจมีภารกิจ ดังนี้ 1 กำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจให้ปฏิบัติตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของกรม 2 ตรวจสอบตามข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายที่อยู่ในความ รับผิดชอบของกรม พัฒนาหลักเกณฑ์ มาตรฐาน วิธีการและขั้นตอนปฏิบัติเกี่ยวกับการกำกับดูแล และตรวจสอบธุรกิจ 3 4 ติดตาม วิเคราะห์และประมวลผลการกำกับดูแลและตรวจสอบธุรกิจ ให้คำปรึกษา/แนะนำ แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นแก่ภาคธุรกิจเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามกฎหมายอย่างจริงจัง 5
3 ธรรมาภิบาลธุรกิจ (Corporate Good Governance) คืออะไร ธรรมาภิบาลธุรกิจ ระบบการบริหาร และควบคุมการดำเนินงานภายในของบริษัท เพื่อให้บริษัทสามารถบรรลุถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งในหลักการแล้ว บริษัทควรจะดำเนินงานเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นในระยะยาว ธรรมาภิบาลธุรกิจ (CorporateGoodGovernance)เป็นประเด็นที่ทั่วโลกให้ความสนใจอย่างมากในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ทั้งนี้เพราะ ถ้าหากองค์กรต่างๆ ไม่มีธรรมาภิบาลแล้ว นอกจากจะสร้างปัญหาให้กับองค์กรนั้นแล้ว ยังจะสร้างปัญหากับประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
ธรรมาภิบาลธุรกิจ (Corporate Good Governance) คืออะไร ธรรมาภิบาลธุรกิจ สำหรับประเทศไทย เริ่มพูดถึงประเด็น “ธรรมาภิบาล” ภายหลังจากเกิดวิกฤตในปี 2540 ทั้งนี้เพราะสาเหตุหลักสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้เกิดวิกฤตคือ การที่สถาบันการเงิน และองค์กรธุรกิจส่วนใหญ่ไม่มีธรรมาภิบาล ดังนั้น จึงมีการถามหา goodgovernanceในภาคเอกชนรวมทั้งในภาครัฐ
4 โครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านกำกับดูแลให้ธุรกิจปฏิบัติตามกฎหมาย ตรวจสอบความถูกต้องทะเบียนธุรกิจ 1 ก่อนการจดทะเบียน ตรวจสอบความมีตัวตนของผู้เริ่มก่อการ หุ้นส่วน กรรมการหรือ ผู้ชำระบัญชีและสถานที่ตั้งสำนักงานของนิติบุคคลจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ของกรมการปกครอง แบบ Online ตรวจสอบแหล่งที่มาของเงินค่าหุ้น หรืองเงินลงทุน ตรวจสอบกรณีมีข้อโต้แย้งคัดค้านการจดทะเบียน
โครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงานโครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน หลังการจดทะเบียน ตรวจสอบความมีตัวตนของผู้เริ่มก่อการ หุ้นส่วน กรรมการหรือ ผู้ชำระบัญชีและสถานที่ตั้งสำนักงานของนิติบุคคลจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ของกรมการปกครอง โดยระบบ Batch Processing ตรวจสอบกรณีมีการอุทธรณ์หรือให้เพิกถอนคำสั่งจดทะเบียนไม่ได้รับจดทะเบียนของนายทะเบียน ตรวจสอบเพื่อถอนทะเบียนร้าง ตรวจสอบที่ตั้งนิติบุคคล ตรวจสอบรายงานประจำปีบริษัท มหาชนจำกัด
โครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงานโครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน การตรวจสอบด้านบัญชี 2 การตรวจสอบบัญชีและวิเคราะห์งบการเงิน การตรวจสอบการงานตามข้อร้องเรียนของผู้ถือหุ้นรายย่อยตามกฎหมาย การตรวจสอบการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 3 ตรวจสอบนิติบุคคลที่มีสถานะเป็นต่างด้าวแต่ยังไม่ได้รับใบอนุญาต ตรวจสอบนิติบุคคลต่างด้าวที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรอง ตรวจสอบการถือหุ้นแทนคนต่างด้าว (นอมินี) ตรวจสอบธุรกิจที่ดิน ธุรกิจที่นา ตามนโยบายของกรม
โครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงานโครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน การตรวจสอบข้อร้องเรียนและนโยบายกรมฯ 4 ข้อร้องเรียนจากรมสรรพากร เรื่องสถานที่ตั้งของนิติบุคคลตั้งใหม่ ข้อร้องเรียนจากบุคคลทั่วไป ตามกฎหมายที่กรมฯ รับผิดชอบ ตรวจสอบตามนโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
โครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงานโครงการ/แผนงาน/กรอบและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านส่งเสริมธรรมาภิบาลธุรกิจ • - เสริมสร้างประสิทธิภาพการบริหารงานของธุรกิจสำนักงานบัญชีและมาตรฐานการบัญชี • - เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการ • -ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการประกอบธุรกิจ 1. ด้านการอบรม - ธุรกิจค้าส่ง ค้าปลีก ธุรกิจบริการ ธุรกิจชุมชนและระบบธุรกิจ - สถาบันการค้า สมาคมการค้าและหอการค้า - พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 2. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ 3. ด้านการให้บริการข้อมูล และเอกสาร - บริการข้อมูลธุรกิจแก่ประชาชน หน่วยงานภาครัฐและองค์กรอิสระ 4. การออกแนวทางหรือวิธี ปฏิบัติที่ดี - เครื่องหมายรับรองคุณภาพสำนักงานบัญชี - เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ เพื่อกับกำดูแลสถาบันอบรมทางบัญชี - สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงทางธุรกิจ และพัทธมิตรร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน - เชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรอิสระ 5. สร้างเครือข่ายธุรกิจ
5 ภาพรวมการกำกับดูแล และตรวจสอบธุรกิจ
6 เสนอ แนวทางเพื่อยกระดับการกำกับดูแล และสร้างธรรมาถิบาลธุรกิจที่ดีของบริษัทจดทะเบียน การสร้างธรรมาภิบาลธุรกิจให้ได้ผลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องช่วยกันผลักดันอย่างเต็มที่ ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยแรงผลักดัน 3 ด้านที่มีบทบาทในการสนับสนุนให้เกิดธรรมาภิบาลธุรกิจ ที่ดี คือ การผลักดันจากภาครัฐ โดยการออกข้อบังคับทางการ 1 การกระตุ้นให้เกิดแรงผลักดันจากสังคม และ 2 ความตั้งใจจากภาคธุรกิจ 3
7 พันธะสัญญา (Commitment) พันธะสัญญา (Commitment) ของสำนักธรรมาภิบาลธุรกิจ ปี 2554 จัดอบรมนิติบุคคลให้มีธรรมาภิบาลการค้า 1 กำหนดหลักเกณฑ์พิจารณาธุรกิจที่มีธรรมาภิบาลดีเด่น 2 จำนวนนิติบุคคลที่ได้รับการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย 3
7 พันธะสัญญา (Commitment) ประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ ประชาชน และประเทศชาติ • เป็นการสร้างธรรมาภิบาลธุรกิจที่ดี รวมทั้งสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ภาคธุรกิจ • ภาคธุรกิจมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่ตามกฎหมาย และให้ความสำคัญในการปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย • สร้างความเชื่อมั่นให้กับภาคธุรกิจของประเทศไทย ในเรื่องฐานข้อมูลการ จดทะเบียนธุรกิจ • เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันในด้านฐานข้อมูลการจัดตั้งธุรกิจ ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญประกอบการตัดสินใจเข้าร่วมลงทุนในธุรกิจสำหรับนักลงทุน และประชาชนทั่วไป ซึ่งจะส่งผลดีต่อการลงทุนของประเทศโดยรวม
7 พันธะสัญญา (Commitment) ประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ ประชาชน และประเทศชาติ • รักษาผลประโยชน์ และรายได้ที่สำคัญของประเทศจากผู้ประกอบธุรกิจต่างด้าวให้เป็นไปตามกฎหมาย • ปัญหาข้อร้องเรียนได้รับการตรวจสอบ และดำเนินการแก้ไข เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายได้รับความเป็นธรรม