1 / 14

กฎขั้นต่ำขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยมาตรการไม่ความคุมตัว (กฎแห่งกรุงโตเกียว )

กฎขั้นต่ำขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยมาตรการไม่ความคุมตัว (กฎแห่งกรุงโตเกียว ). มาตรการที่ศาลใช้โดยไม่ควบคุมตัวผู้กระทำความผิด มีดังต่อไปนี้. (ก) มาตรการตักเตือนด้วยวาจา เช่น การว่ากล่าว อบรมและตักเตือน (ข) การยุติการดำเนินคดี โดยมีเงื่อนไข (ค) โทษทางสถานภาพ หรือการตัดสิทธิบางประการ

peri
Télécharger la présentation

กฎขั้นต่ำขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยมาตรการไม่ความคุมตัว (กฎแห่งกรุงโตเกียว )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎขั้นต่ำขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยมาตรการไม่ความคุมตัวกฎขั้นต่ำขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยมาตรการไม่ความคุมตัว (กฎแห่งกรุงโตเกียว) มาตรการที่ศาลใช้โดยไม่ควบคุมตัวผู้กระทำความผิด มีดังต่อไปนี้ (ก) มาตรการตักเตือนด้วยวาจา เช่น การว่ากล่าว อบรมและตักเตือน (ข) การยุติการดำเนินคดี โดยมีเงื่อนไข (ค) โทษทางสถานภาพ หรือการตัดสิทธิบางประการ (ง) มาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจและการเงิน เช่น โทษปรับ และค่าปรับที่คำนวณตามรายได้ต่อวัน (จ) การยึด หรือริบทรัพย์สิน

  2. (ฉ) การสั่งให้ชดใช้เยียวยาหรือจ่ายค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย (ช) การรอการกำหนดโทษ หรือรอการลงโทษ (ฌ) การให้ทำงานบริการสังคม (ญ) การให้ไปรับการฝึกอบรมที่สถานที่ฝึกอบรมพิเศษที่กำหนด (ฎ) การควบคุมตัวไว้ที่บ้านของผู้นั้น (ฏ) การดูแลด้วยวิธีการอื่นที่ไม่ต้องคุมขังผู้นั้นไว้ (ฐ) การผสมผสานระหว่างมาตรการดังกล่าวข้างต้น

  3. มติคณะรัฐมนตรี เรื่อง แนวทางรูปแบบการลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาล 1. มาตรการปรับ 2. การระงับข้อพิพาททั้งในและนอกศาล 3. มาตรการความผิดอันยอมความได้ 4. มาตรการการต่อรองคำรับสารภาพ 5. มาตรการชะลอการฟ้อง

  4. มติ ค.ร.ม. (ต่อ) • 6. การคุมประพฤติ • 7. การดำเนินการตาม พ.รบ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2534 • 8. มาตรการเพื่อความปลอดภัย • 9. มาตรการพักการลงโทษ • 10. มาตรการเกี่ยวกับเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  5. กฎหมายเกี่ยวกับงานคุมประพฤติกฎหมายเกี่ยวกับงานคุมประพฤติ 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 2. ประมวลกฎหมายอาญา 3. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 4. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 5. พระราชบัญญัติวิธีดำเนินการคุมความประพฤติตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2522 6. พระราชบัญญัติล้างมลทินในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี พ.ศ.2526 7. พระราชบัญญัติล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลย์เดชทรงมีพระชนม์พรรษา 60 พรรษา พ.ศ.2530

  6. 8. พระราชบัญญัติล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินมหาภูมิพลอดุลเดชทรงครองราชสมบัติครบ 50 ปี พ.ศ.2539 9. พระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศในการดำเนินการตาม คำพิพากษาคดีอาญา พ.ศ.2527 มาตรา 4 10. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวฯ พ.ศ.2534 11. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2543 12. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ฉบับที่ 3 พ.ศ.2548 13. พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2479 14. พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2520 15. พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ ฉบับที่ 3 พ.ศ.2522

  7. 16. พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ ฉบับที่ 4 พ.ศ.2523 17. พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545 18. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 19. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 พ.ศ.2545 20. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 21. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 22. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 23. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 24. พระราชบัญญัติเครื่องราชอิศริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ พ.ศ.2534

  8. 25. พระราชบัญญัติสงเคราะห์ผู้ประสบภัยเนื่องจากการช่วยเหลือราชการปฏิบัติงานของชาติหรือการปฏิบัติตามหน้าที่มนุษยธรรม พ.ศ.2533 26. พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 27. พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2519 28. พระราชบัญญัติป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2522 พระราชกฤษฎีกา มี 6 ฉบับ ที่เกี่ยวข้องได้แก่ พระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ.2547 และ พ.ศ.2549 กฎกระทรวง ที่เกี่ยวข้องมี 9 ฉบับ ประกาศกระทรวง มีทั้งสิ้น 39 ฉบับ เกี่ยวข้องกับการแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ การกำหนดสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด สถานที่ควบคุมตัว จัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด เป็นต้น

  9. ระเบียบกระทรวง มีทั้งสิ้น 7 ฉบับ ระเบียบกรมคุมประพฤติ มี 4 ฉบับ ระเบียบฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด มี 5 ฉบับ มติคณะรัฐมนตรี แนวทาง รูปแบบการลดปริมาณคดีขื้นสู่ศาล ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2544 คำสั่ง ประกอบด้วย คำสั่งกระทรวงยุติธรรม คำสั่งกรมคุมประพฤติ และคำสั่งกรมราชทัณฑ์ เรื่องอื่นๆ มี 6 เรื่อง ได้แก่ มาตรฐานแห่งชาติว่าด้วยการปฏิบัติงานของกรมคุมประพฤติ มาตรฐานขั้นต่ำของสหประชาชาติ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก เยาวชนและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 และฉบับที่ 9 นโยบายกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยยุทธศาสตร์ยุติธรรมถ้วนหน้าประชามีส่วนร่วม

  10. งานคุมประพฤติและงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดงานคุมประพฤติและงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด งานคุมประพฤติผู้กระทำผิดที่เป็นผู้ใหญ่ การสืบเสาะและพินิจ ได้แก่ การเสนอรายงานและความเห็นต่อศาล การปฏิบัติงานสืบเสาะและพินิจ การควบคุมสอดส่อง งานคุมประพฤติผู้กระทำผิดที่เป็นเด็กและเยาวชน การสืบเสาะข้อเท็จจริง การควบคุมและสอดส่อง

  11. งานคุมประพฤตินักโทษเด็ดขาดที่ได้รับการพักการลงโทษและลดวันต้องโทษงานคุมประพฤตินักโทษเด็ดขาดที่ได้รับการพักการลงโทษและลดวันต้องโทษ คณะกรรมการพักการลงโทษ คณะกรรมการลดวันต้องโทษ วิธีปฏิบัติ กำหนดเงื่อนไขการพักการลงโทษหรือลดวันต้องโทษรวมทั้งการสั่งถอน การพักการลงโทษหรือสั่งถอนการลดวันต้องโทษ การสอดส่อง(คุมประพฤติ) ตามเงื่อนไข ที่กำหนดไว้ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด คณะกรรมการการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด คณะกรรมการอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด สถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ การควบคุมตัวและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยา การตรวจพิสูจน์และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบ่งออกเป็น 1. การตรวจพิสูจน์ 2. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด

  12. วิธีปฏิบัติงานเกี่ยวกับการดำเนินงานคุมประพฤติวิธีปฏิบัติงานเกี่ยวกับการดำเนินงานคุมประพฤติ งานแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิด แบ่งออกเป็น 1. บททั่วไป 2. ขั้นตอน หรือกระบวนการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิด 3. รูปแบบการแก้ไขผู้กระทำความผิด งานบริการสังคม งานสงเคราะห์ผู้กระทำความผิด

  13. กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ 1. บททั่วไป 2. รูปแบบ การนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ในขั้นตอน (1) สืบเสาะข้อเท็จจริงและพินิจ (2) การนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้เพื่อยุติข้อพิพาท เช่น การประชุมกลุ่มครอบครัว การจัดทำข้อตกลง การจัดประชุมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคู่กรณีและผู้ที่เกี่ยวข้อง งานอาสาสมัครคุมประพฤติ

  14. เครือข่ายชุมชน 1. หลักทั่วไป 2. สำนักงานยุติธรรมจังหวัด 3. ศูนย์บริการร่วม 4. ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม 5. บทบาทผู้ประสานงานยุติธรรมชุมชน 6. กิจกรรมเครือข่ายยุติธรรมชุมชน

More Related