1 / 9

Alternative Energy Sources and Energy Mix Policy in Thailand

Alternative Energy Sources and Energy Mix Policy in Thailand. Commented by Dr. Bundit Limmeechokchai สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มธ. 3 ISSUES Alternative energy เพื่อความมั่นคงพลังงาน เสนอแนะ Energy Mix บทบาท Community-based energy management เช่น พลังน้ำ และชีวมวล.

perry-mejia
Télécharger la présentation

Alternative Energy Sources and Energy Mix Policy in Thailand

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Alternative Energy Sources and Energy Mix Policy in Thailand Commented by Dr. BunditLimmeechokchai สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มธ 3 ISSUES Alternative energy เพื่อความมั่นคงพลังงาน เสนอแนะ Energy Mix บทบาท Community-based energy management เช่น พลังน้ำ และชีวมวล

  2. บทความประกอบด้วย 4 ส่วน • สรุปการคาดการณ์และเป้าหมายการใช้และการประหยัดในอนาคต • Energy Scenarios • Thailand PDP Scenario 2021 • Conclusions • สรุปการคาดการณ์และเป้าหมายการประหยัดได้กระชับ ครอบคลุมภาคเศรษฐกิจหลักๆและเทคโนโลยีพลังงานทดแทนได้ครบ (ตารางที่ 1, 2 และ 3) • หัวข้อ 1.3 ในตารางที่ 4 นั้น การผลิตไฟฟ้าพลังน้ำลดลงจาก 7950 GWh ในปี 2006 เป็น 3861 GWh ในปี 2021(ทุบเขื่อน /น้ำแล้ง ?) • Grouping of fuels: Coal, Oil and NG = LNG • Power imported เพิ่มจาก 3.6% เป็น 8.8% (security ?) • Annual growth rate 2006-2021 = 5.7% (PDP2007)

  3. Energy Scenarios ได้มีการทบทวนจากแหล่งหลักต่างๆ เช่น WETO, WEO2007 และ ETP2008 อย่างครบถ้วน • - Climate Scenarios in 2050 (450 ppm CO2)

  4. Power Development Plan (PDP 2007) • ตารางที่ 5 ได้สรุปเป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนได้ดี (2006-2021) ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าในเอเชียและทั่วโลกต่างมุ่งมั่นในการใช้เชื้อเพลิงที่สะอาดในการผลิตไฟฟ้ามากขึ้น ยกเว้น ประเทศไทย ซึ่งจะทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องทำการศึกษาเป้าหมายใหม่ • ประเด็นอยู่ที่ว่า จะใช้พลังงานที่สะอาดกว่าให้คุ้มค่าและอย่างยั่งยืนได้อย่างไร • 3.3 ตารางที่ 8 แสดงให้เห็นว่าตามแผน PDP2007 ประเทศไทยจะปล่อย CO2เพิ่มขึ้นปีละ 4.5% (น้อยกว่า 5.7%) แต่เมื่อเทียบกับในเอเชียและทั่วโลกแล้วกลับไม่ได้ดีกว่า • ในปี 2004 ประเทศไทยมี ค่า CO2 per capita = 4.5 ton/yr ในนณะที่ Asia Pacific = 3.5 • Climate Scenarios: 1) No coal & Lignite after 2021 and • 2) No Lignite after 2021 and No new coal after 2021 (reduction = 59001 GWh = 83% of Maximum EE)

  5. 4. บทสรุป ได้แสดงดังในตารางที่ 9 และ 10 • สรุปได้ดีและยังเน้นถึง ต้นทุนที่เพิ่มของพลังงานทางเลือก แต่ ในตารางที่ 10 ใน scenarios ต่างๆ • จะเกิดอะไรขึ้นถ้าปี 2021 No nuclear comes! ใช้แผน B1 และ B3 ? • อย่างไรก็ตาม ในตารางที่ 10 ถึงแม้ว่าจะได้คำนึงถึงพลังงานทางเลือก ศักยภาพที่มี และ การปล่อย CO2แล้วนั้น ทุก Scenario รวมถึง PDP2007 ก็ยังใช้ ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าถึง 70% และ 75% สำหรับแผน B3 (Vulnerability ?) • Energy Supply Security จากการใช้ เชื้อเพลิงเดี่ยวในการผลิตไฟฟ้าถึง 70-75%

  6. Energy planning is done in the context of other considerations Global CO2Issues National Economy Energy System Electric System

  7. Social & Economy Environment Energy TODAY PROBLEM ENERGY PLANNING, THE TRILEMMA

More Related