340 likes | 518 Vues
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโป่งน้ำร้อน. ยินดีต้อนรับ. สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน. ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี. ข้อมูลทั่วไป.
E N D
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโป่งน้ำร้อนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโป่งน้ำร้อน ยินดีต้อนรับ
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ตำบลโป่งน้ำร้อน อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี
ข้อมูลทั่วไป อำเภอโป่งน้ำร้อน มี 5 ตำบล ตำบลโป่งน้ำร้อนเป็นตำบลแรกในการก่อตั้ง มีหมู่บ้านรับผิดชอบ 13 หมู่บ้าน แบ่งเขตรับผิดชอบงานสาธารณสุขของ รพ.สต. บ้านวังกระทิง จำนวน 5 หมู่บ้าน และรพ.สต.บ้านโป่งน้ำร้อน จำนวน 8 หมู่บ้าน
ทำเลที่ตั้ง • ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต.หนองตาคง อำเภอโป่งน้ำร้อน • ทิศใต้ ติดต่อกับ ต.ปัถวี อ.มะขาม ต.บ่อเวฬอ.ขลุง • ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.คลองใหญ่ อำเภอโป่งน้ำร้อน • ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต.โป่งน้ำร้อน และ ต.ทับไทร ********************
แผนที่ ตำบลโป่งน้ำร้อน รพ.สต.บ้านวังกระทิง รพ.สต.บ้านโป่งน้ำร้อน
จำนวนประชากร ตำบลโป่งน้ำร้อนมีประชากรทั้งสิ้น 8,058 คน แยกเป็นชาย 4,185 คน หญิง 3,873 คน สัดส่วนประชากรเพศ ชาย : หญิง เท่ากับ 1:1.08
การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลการขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบล
การมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน -ผู้นำชุมชน(ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน) -คณะกรรมการหมู่บ้าน -สมาชิกอบต. -กลุ่มอสม. -กลุ่มผู้สุงอายุ -กลุ่มแม่บ้านสตรี -กลุ่มเยาวชน เป็นต้น
การจัดทำแผนด้านสุขภาพ จัดเวทีประชาคมเพื่อวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพการจัดทำแผนด้านสุขภาพ จัดเวทีประชาคมเพื่อวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ • กลุ่ม/องค์กรที่มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนและร่วมกิจกรรมได้แก่ • ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน • คณะกรรมการหมู่บ้าน • นายก อบต./สมาชิก อบต. • กลุ่มแม่บ้าน • กลุ่มผู้สูงอายุ • พัฒนาชุมชน เกษตรตำบล
ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ที่สำคัญปัญหาสุขภาพในพื้นที่ที่สำคัญ 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เพิ่มขึ้น ร้อยละ 14.74 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง 2. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า กรัม ร้อยละ 15 3. จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 5.65 4.จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 8.43 5.จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 7.01 6. สตรีอายุ 30-60 ปี รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยวิธี Pap Smear ร้อยละ10.64 7.จำนวนผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรัง 412 คน คิดเป็นร้อยละ 40.08ของผู้สูงอายุทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (กลุ่มเสี่ยง) ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
พฤติกรรม : มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมตามหลักการ3 อ. (อาหาร, ออกกำลังกาย,อารมณ์)กลุ่มเสี่ยง : มีรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คือ ผู้ชาย รอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. ผู้หญิง รอบเอวน้อยกว่า 80 ซม.: ได้รับการตรวจคัดกรอง ความดันโลหิตสูงและ เบาหวานตามเกณฑ์ที่กำหนด : มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสมตามหลักการ 3 อ. 2ส : มีการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง เหมาะสม อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที(จนสามารถควบคุมน้ำหนักตัวเองได้)กลุ่มป่วย : มีการดูแลตนเองตามคู่มือผู้ป่วย และปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด
ระดับกระบวนการ สร้างกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(รายประเด็น) 3. อปท.และหน่วยงานต่างๆ ทั้งใน/นอกพื้นที่ มีบทบาทสนับสนุนชุมชน/ท้องถิ่น อย่างไรบ้าง? 1.บทบาทของประชาชน/ชุมชน/ท้องถิ่นในระยะที่ผ่านมามีอะไรบ้าง?( กลุ่มเป้าหมาย) 2.ในอนาคตจะสามารถทำอะไรได้เองเพิ่มบ้าง?เป็นอย่างไร? 4.ในอนาคต อปท.และหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องควรจะมีบทบาท/สนับสนุนอะไรได้เองบ้าง? ระดับภาคี/เครือข่าย ระดับประชาชน ศักยภาพ/ขีดความสามารถของชุมชนและท้องถิ่น ในงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(P&P)ประเด็น................. 5.ศักยภาพในการจัดการของพื้นที่ในระยะที่ผ่านมามีอะไรบ้าง?(การสื่อสาร,การประสานงาน,การบริหารจัดการ,การวางแผนฯลฯ) 8.การเรียนรู้และพัฒนาทักษะ/ข้อมูล/ทีมงาน/องค์กรฯลฯ ในระยะต่อไปต้องทำอะไรบ้าง? ระดับพื้นฐาน 7.การเตรียมทักษะ/ข้อมูล/ทีมงาน/องค์กร ฯลฯ ในระยะที่ผ่านมามีอะไรบ้าง? 6.ในอนาคต ควรจะมีความเชี่ยวชาญในการจัดการอะไรเพิ่มบ้าง? (อปท.และหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง)
แผนที่ความคิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ระดับประชาชน สิ่งที่ดี/ความภาคภูมิใจ(จุดเด่น) 1.ประชาชนสนใจดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น 2.มีการคัดกรองสุขภาพโดย อสม.และ จนท. 3.มีชมรมสร้างสุขภาพเช่น ชมรมผู้พิการ ผู้สูงอายุ ชมรมออกกำลังกาย
ระดับประชาชน ปัญหา/อุปสรรค(จุดด้อย) 1.ประชาชนยังบริโภคอาหารรส หวาน มัน เค็ม 2.ประชาชนยังดื่มสุรา สูบบุหรี่ 3.ประชาชนขาดความต่อเนื่องในการออกกำลังกาย 4.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้ความสำคัญเรื่องปากท้องมากกว่าสุขภาพ 5.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
ระดับประชาชน สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.มีชมรมสร้างสุขภาพที่ดำเนินการต่อเนื่อง 2.ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงไม่มีโรคแทรกซ้อน 3.อัตราการเกิดโรคโรคเบาหวาน/ความดันลดลง 4.อยากให้มีคนดูแลผู้ป่วยแบบใกล้บ้านใกล้ใจ
การมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างยั่งยืนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างยั่งยืน ด้านภาคีเครือข่าย จุดเด่น การทำงานเป็นทีมร่วมมือกันทุกหน่วยงาน อบต.อสม.จนท.สธ. ผู้นำ จุดด้อย ท้องถิ่นมีนโยบายในการดูแลสุขภาพประชาชนยังไม่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม
ด้านภาคีเครือข่าย สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.ให้ท้องถิ่นมีการจัดการดูแลสุขภาพประชาชนโดยตรง 2.รณรงค์ออกคัดกรองเบาหวาน ความดันร่วมกัน 3.มีนโยบายสาธารณะที่ชัดเจน
ด้านกระบวนการ จุดเด่น 1.มีการคัดกรองเบาหวาน/ความดันในกลุ่มเสี่ยง 2.มีการเยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้าน 3.มีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ต่างๆ จุดด้อย วัสดุอุปกรณ์ไม่เพียงพอ
ด้านกระบวนการ สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.มีแนวทางในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างต่อเนื่อง 2.มีการตรวจคัดกรองอย่างต่อเนื่องและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ 3.มีนโยบายสาธารณะที่ชัดเจน 4.ทีมเยี่ยมบ้านที่ใกล้บ้านใกล้ใจ
ด้านพื้นฐาน จุดเด่น 1.อสม.ให้ความร่วมมือในการติดตามและเฝ้าระวังโรค 2.มีการอบรมเพิ่มความรู้ให้แก่ประชาชนและอสม. จุดด้อย 1.ขาดข้อมูลพื้นฐาน ขาดการเก็บข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน 2.ขาดทักษะในการดำเนินการ
ด้านพื้นฐาน สิ่งที่ต้องการให้เกิด 1.การจัดทำข้อมูลประชาชนกลุ่มเสี่ยงและจัดเก็บข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและสะดวกต่อการค้นหา 2.จัดอบรมฟื้นฟูเพื่อเพิ่มทักษะในการทำงาน
โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน
โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน • จัดอบรม อสม.ในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง(สร้างทีมเยี่ยมบ้านในชุมชน) • จัดมหกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพสุขภาพประจำปีแก่ประชาชนกลุ่ม 15 ปี ขึ้นไปทุกคน
โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน • ตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย • ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเป้าหมาย • รถตรวจมะเร็งปากมดลูกเคลื่อนที่
โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน • ตรวจคัดกรองหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดในกลุ่มเกษตรกร • ตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน • - สำรวจและส่งเสริมการออกกำลังกายให้กับประชาชน • แนะนำการปฏิบัติตนตามหลัก 3อ.2ส.ให้กับประชาชน • .จัดตั้งคลินิกไร้พุง DPAC ร่วมกับโรงพยาบาลโป่งน้ำร้อน
โครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชนโครงการมหกรรมสร้างสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน งบประมาณ • จากกองทุนสุขภาพตำบล 92,500 บาท กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโป่งน้ำร้อน
ภาพกิจกรรมการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโป่งน้ำร้อนภาพกิจกรรมการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโป่งน้ำร้อน
โครงการมหกรรมสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน(สนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน)โครงการมหกรรมสุขภาพเชิงรุกแบบบูรณาการในชุมชน(สนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน)
สิ่งที่คาดว่าจะได้รับสิ่งที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชาชนมีสุขภาพดี 2.เกิดการบูรณาการทุกภาคส่วน 3.เป็นชุมชนต้นแบบในการลดเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 4.เกิดนวตกรรมชุมชนที่จะพัฒนาต่อไป
สวัสดี สานพลัง สร้างสุขภาพชุมชนร่วมกัน