270 likes | 483 Vues
ประชากรและแรงงานไทย ส่วนที่ 1. เอกสารอ้างอิง : “ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร และสวัสดิการสังคม ” โดย รศ. ดร. มัทนา พิรนามัย “ ห้าทศวรรษแห่งการเปลี่ยนแปลงใน ตลาดแรงงานไทย ” โดย อ. ดร. กิริยา กุลกลการ www.praipol.com. เค้าโครงการบรรยาย 2 ส่วน :.
E N D
เอกสารอ้างอิง: • “การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร • และสวัสดิการสังคม” • โดย รศ. ดร. มัทนา พิรนามัย • “ห้าทศวรรษแห่งการเปลี่ยนแปลงใน • ตลาดแรงงานไทย” • โดย อ. ดร. กิริยา กุลกลการ • www.praipol.com
เค้าโครงการบรรยาย 2 ส่วน: • ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • แรงงานไทยในห้าทศวรรษ
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • Pn= P0 + B–D + (NM) โดยที่ Pn คือจำนวนประชากร ณ เวลา n P0 คือจำนวนประชากร ณ จุดเริ่ม B คือ จำนวนคนเกิด D คือจำนวนคนตาย และ NM คือ จำนวนผู้ย้ายถิ่นเข้าสุทธิ
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • G(P)= G(B)–G(D) + G(NM) โดยที่ G(P) คือ อัตราการเพิ่มประชากร G(B) คือ อัตราการเกิด G(D) คือ อัตราการตาย และ G(NM)คือ อัตราการย้ายถิ่นเข้าสุทธิ
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 1 : อัตราเกิดและอัตราตายสูงใกล้กัน ทำให้อัตราเพิ่มค่อนข้างต่ำ
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 2 : สาธารณสุขดีขึ้น ทำให้อัตราตายลดก่อน ทำให้อัตราเพิ่มสูงขึ้นมาก แต่ต่อมาอัตราเกิดเริ่มลด ทำให้อัตราเพิ่มชะลอ
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 3 : อัตราตายและอัตราเกิดลดต่ำใกล้กันอีก ทำให้อัตราเพิ่มกลับมาต่ำอีก
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 1 (อัตราเกิดและอัตราตายสูง ทำให้อัตราเพิ่มค่อนข้างต่ำ) ในไทย ขั้นที่ 1 นี้คงเกิดขึ้นก่อนหน้าปี 2500 แล้ว
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 2 (อัตราตายลดเร็ว ต่อมาอัตราเกิดเริ่มลด ทำให้อัตราเพิ่มสูงขึ้นมาก) ในไทย ขั้นที่ 2 เป็นจริงในช่วง 2507 – 2519 ประชากรเพิ่มในอัตรา 3% ซึ่ง สูงมาก ผู้หญิงมีลูกน้อยลงโดยตลอด และคนอายุยืนขึ้นโดยตลอด
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย ขั้นที่ 3 (อัตราตายและอัตราเกิดลด ทำให้อัตราเพิ่มลดต่ำมาก) ในไทย ขั้นที่ 3 เป็นจริงในช่วงตั้งแต่ 2530 เป็นต้นมา ประชากรเพิ่มในอัตรา เพียง 1% ซึ่งต่ำมาก ไทยทำได้ภายใน 5 ทศวรรษ (ยุโรปมากกว่า 100 ปี)
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย อัตราเกิดลด ทำให้สัดส่วนเด็กในประชากรลดลง (20% ในปี 2563)
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย อัตราตายลด อายุยืนขึ้น ทำให้สัดส่วนคนแก่สูงขึ้น (15% ในปี 2563 และ 23% ในปี2573) กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุ (aging society)
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย “อัตราการเป็นภาระ” ลดลงต่ำสุดในปี 2553 (คนทำงาน 2 คนเกื้อหนุนคนไม่ทำงาน 1 คน) แต่อัตราการเป็นภาระจะสูงขึ้นในอนาคต
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สาเหตุที่ทำให้อัตราการเกิดลดลง • การผลิตเปลี่ยนจากเกษตรมาเป็นอุตสาหกรรมและบริการมากขึ้น และจากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง ความต้องการมีสมาชิกครอบครัวมากๆ จึงน้อยลง
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สาเหตุที่ทำให้อัตราการเกิดลดลง • ผู้หญิงมีการศึกษาและโอกาสในการทำงานมากขึ้น จึงไม่ต้องการมีลูกมาก • รัฐบาลส่งเสริมการวางแผนครอบครัว • คนรายได้ดีขึ้น จึงต้องการบุตรโดยเน้นด้านคุณภาพมากกว่าปริมาณ
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สาเหตุที่ทำให้อัตราการเกิดลดลง • สถิติชี้ให้เห็นว่าขนาดของครัวเรือนเล็กลงจาก 5.6 คน ในปี 2503 เป็น 3.8 คน ในปี 2543 • ร้อยละของผู้เป็นโสดมากขึ้น โดยเฉพาะผู้หญิง และแต่งงานช้าลง (ทั้งหญิงและชาย)
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • ที่ผ่านมา โครงสร้างทางอายุของประชากรไทยเอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพราะสัดส่วนประชากรในวัยทำงานยังสูงอยู่ • แต่ในอนาคต จะไม่เอื้อเพราะเริ่มเข้าสู่สังคมสูงอายุ ทำให้การออม/ลงทุนลดลง
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สังคมสูงอายุ ไม่เป็นผลลบ หากมีแผนรองรับ: • ด้านแรงงาน เพิ่มลงทุนในทรัพยากรมนุษย์และคุณภาพแรงงาน • งบประมาณรัฐปรับตามการเปลี่ยนโครงสร้างอายุ เช่น การศึกษา สุขภาพ การดูแลคนแก่
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สังคมสูงอายุ ไม่เป็นผลลบ หากมีแผนรองรับ: • ปรับโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อคนแก่ เช่น ทางเท้า การคุ้มครองความปลอดภัย • สร้างหลักประกันทางเศรษฐกิจและสังคม (สวัสดิการสังคม)
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สวัสดิการสังคมของไทย แบ่งได้ตามสถานภาพการทำงาน (กำลังแรงงาน 35.6 ล้านคนในปี 2549) • ข้าราชการและลูกจ้างของรัฐ (1.5 ล้านคน) • ลูกจ้างในภาคเอกชน (12 ล้านคน) • ส่วนที่เหลือ (22 ล้านคน)
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สวัสดิการสำหรับข้าราชการและลูกจ้างของรัฐ • ค่ารักษาพยาบาลของตน บิดา มารดา คู่สมรส และบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี • ประกันชราภาพด้วยเงินบำเหน็จบำนาญ
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สวัสดิการสำหรับลูกจ้างเอกชน • กฎหมายประกันสังคม 2533 ครอบคลุมลูกจ้างในสถานประกอบการลูกจ้าง 1 คนขึ้นไป • คุ้มครอง 4 กรณี คือ เจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย และคลอดบุตร • ต่อมาเพิ่มสงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • สวัสดิการสำหรับลูกจ้างเอกชน • ร่วมจ่ายเงินสมทบ 3 ฝ่ายคือลูกจ้าง นายจ้าง และภาครัฐ • กองทุนเงินทดแทน ครอบคลุมการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงาน • ในปี 2552 จำนวนผู้ประกันตนทุกประเภทรวม 9.425 ล้านคน (25% ของกำลังแรงงาน)
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • ส่วนที่เหลือ (70% ของกำลังแรงงาน) • เกษตรกร ผู้ประกอบอาชีพอิสระ แรงงานนอกระบบ • ไม่ได้รับการคุ้มครอง หรือมีหลักประกันน้อยกว่า • มีหลักประกันรักษาพยาบาลตามโครงการรักษาฟรี/ 30 บาท + เบี้ยยังชีพสูงอายุ • กระทรวงการคลังมีแผนจัดตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติสำหรับ “ส่วนที่เหลือ”
ประชากรและสวัสดิการสังคมของไทยประชากรและสวัสดิการสังคมของไทย • ยังไม่มีความตระหนักหรือแผนรองรับการเข้าสู่สังคมสูงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสวัสดิการสังคม