1 / 23

นโยบายการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปี 2553 ศิ ริรà¸

นโยบายการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปี 2553 ศิ ริรัตน์ แก้วประเสริฐ นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ งานอาหารปลอดภัย สสจ.สุรินทร์. นโยบายรัฐบาลด้านความปลอดภัยอาหาร.

pravat
Télécharger la présentation

นโยบายการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปี 2553 ศิ ริรà¸

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปี 2553 ศิริรัตน์ แก้วประเสริฐ นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ งานอาหารปลอดภัย สสจ.สุรินทร์

  2. นโยบายรัฐบาลด้านความปลอดภัยอาหารนโยบายรัฐบาลด้านความปลอดภัยอาหาร • มีระบบการดูแลคุณภาพความปลอดภัยอาหารตลอดห่วงโซ่อาหาร(Food Chain) ตั้งแต่วัตถุดิบการแปรรูปการปรุงประกอบการขนส่งการจำหน่ายจนถึงผู้บริโภคนำไปสู่การมีสุขภาพดีของคนในประเทศและคุณภาพอาหารเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติเกิดเป็นภาพลักษณ์ที่ดีต่อประเทศไทย

  3. แผนยุทธศาสตร์ โครงการความปลอดภัยด้านอาหาร วัตถุประสงค์ “เพื่อให้อาหารที่ผลิตและบริโภคภายในประเทศมีความปลอดภัยได้มาตรฐานทัดเทียมกับสากล นำไปสู่การเป็นครัวอาหารของโลก”

  4. นโยบายรัฐบาล “ความปลอดภัยอาหาร” กระทรวงสาธารณสุข เน้นการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกลุ่ม - อาหารสด - อาหารปรุงสำเร็จ - อาหารแปรรูป

  5. ครัวไทย ครัวโลก กรอบแนวคิดงานอาหารปลอดภัย กรมอนามัย ปี 2549 การท่องเที่ยว พัฒนาสถานประกอบ การให้ได้มาตรฐาน รวมตัวเป็น ชมรมฯ รัฐบาล กระทรวง สาธารณสุข กรมอนามัย นโยบาย ผลักดัน ตลาดสดน่าซื้อ CFGT ผู้ประกอบการ เป้าหมาย ร้านอาหาร,แผงลอย (เมนูชูสุขภาพ, ช้อนกลาง,ล้างมือ) เป้าหมาย ตลาดประเภทที่ 1 เอกชน พัฒนาองค์ความรู้ และเทคโนโลยี SME ภาครัฐ เงินทุน เข้าใจง่าย/เป็นรูปธรรม พัฒนาผู้บริโภค อบจ./อบต. เทศบาล สสจ. ศูนย์ กรมอนามัย ปฏิบัติได้จริง มีความรู้ ปฏิบัติ/ออกเทศบัญญัติ ควบคุมกำกับ/เฝ้าระวังฯ Food Inspector สนับสนุนท้องถิ่น ปชส. ตรวจสอบคุณภาพ วิเคราะห์ เฝ้าระวังฯ Inspector สนับสนุน พัฒนาจนท. เฝ้าระวังฯ นโยบาย พัฒนากฎหมาย กำหนดมาตรฐาน แหล่งทุน ผลิตองค์ความรู้ เข้าถึงได้ง่าย มีความรู้/เลือกเป็น Website/E-learning พิทักษ์สิทธิตนเอง พัฒนาใช้ข้อมูล GIS เป็นหูเป็นตาให้ภาครัฐ Food Spy

  6. โครงการอาหารสะอาดรสชาติอร่อยโครงการอาหารสะอาดรสชาติอร่อย เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี2542 • ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร 15 ข้อ และผ่านเกณฑ์ด้านแบคทีเรีย 90%(ใช้ชุดทดสอบ SI-2) • แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร 12 ข้อ และผ่านเกณฑ์ด้านแบคทีเรีย 90%(ใช้ชุดทดสอบ SI-2)

  7. ผลการดำเนินงานของจังหวัดสุรินทร์ ข้อมูลปี 2553 (ณ วันที่ 30 ก.ย.2553)

  8. ร้านอาหาร 5 ดาว ยกระดับร้านอาหารมาตรฐานกรมอนามัยให้เป็นระดับ 5 ดาว โดยมีองค์ประกอบดังนี้ 1. เป็นร้านอาหารที่ผ่านเกณฑ์ CFGT 2. มีเมนูชูสุขภาพ 3. มีการเสิร์ฟช้อนกลางให้แก่ผู้บริโภค 4. มีอุปกรณ์การล้างมือ ( อ่างล้างมือ, น้ำ, สบู่ ) และผู้ปรุง-ผู้เสิร์ฟ ต้องมีการล้างมือที่ถูกสุขลักษณะ 5. ห้องส้วมต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะ ในเรื่อง - ความสะอาด ( Healthy : H ) - ความเพียงพอ (Accessibility : A ) - ความปลอดภัย ( Safety : S )

  9. โครงการตลาดสดน่าซื้อ แนวทางการดำเนินงาน 1. กระตุ้นผู้ประกอบกิจการตลาดสดที่เข้าร่วมโครงการให้พัฒนาตลาดสดให้ได้ ตามเกณฑ์ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ด้านความปลอดภัยอาหาร และด้านการคุ้มครองผู้บริโภค 2. จัดประชุมชมรมผู้ขายของในตลาดสด และชมรมเจ้าของตลาดระดับประเทศ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย 3. สนับสนุนให้ชมรมเ จ้าของและผู้ขายของในตลาดมีความเข้มแข็งและมีการแลก เปลี่ยนศึกษาดูงานซึ่งกันและกัน 4. ประชาสัมพันธ์ป้ายรับรองตลาดสดน่าซื้อ ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น

  10. ผลการดำเนินงานตลาดสดน่าซื้อผลการดำเนินงานตลาดสดน่าซื้อ ข้อมูล ณ วันที่ 10 มีนาคม 2549

  11. โครงการรณรงค์ ปี 2553

  12. โครงการคนไทยใช้ช้อนกลางโครงการคนไทยใช้ช้อนกลาง เหตุผล • ผู้บริโภคยังมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องในการกินอาหารร่วมกัน • ขาดความเอาใจใส่ในการป้องกันตนเองจากโรคที่สามารถติดต่อผ่านทางน้ำลายได้ ได้แก่ ไข้หวัดใหญ่ คางทูม โปลิโอ วัณโรค ไวรัสตับอักเสบ วัตถุประสงค์ • ผู้ประกอบการค้าอาหาร มีความรู้ ความเข้าใจและเสิร์ฟช้อนกลางทุกครั้ง • ผู้บริโภคมีความรู้และพฤติกรรมการกินอาหารร่วมกันที่ถูกต้อง • ป้องกันโรคที่สามารถติดต่อผ่านทางน้ำลายผู้ป่วย สู่ผู้บริโภค

  13. โครงการรณรงค์มือสะอาด ปราศจากโรค เหตุผล • มือเป็นอวัยวะที่ใช้ทำกิจกรรมมากมาย • มือสกปรกนำเชื้อโรคมาปนเปื้อนในอาหารได้ • การล้างมือช่วยป้องกันโรคได้ ได้แก่ โรคที่ระบาดโดยอุจจาระ เช่น อหิวาตกโรค ไข้ไทฟอยด์ โรคพยาธิ โรคที่เกิดจากแบคทีเรียในแผล ฝี หนอง วัตถุประสงค์ • กระตุ้นให้ประชาชนทุกกลุ่มเห็นความสำคัญ มีความรู้ และมีพฤติกรรมการล้างมือที่ถูกสุขลักษณะ

  14. การดำเนินงาน เรื่อง อาหารถุง • อาหารถุงอาหารปรุงสำเร็จที่พร้อมบริโภคทันทีตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่237โดยมีลักษณะ ใส่ถุงวางจำหน่ายบริเวณตลาดประเภทที่1ซุปเปอร์มาร์เก็ตหรือบริเวณที่มีการจำหน่ายอาหารถุงทั่วไป • เป้าหมายปี2549 อาหารถุงที่สุ่มตรวจด้วย SI-2 ต้องผ่านเกณฑ์ทางด้านแบคทีเรีย ร้อยละ 70 ของอาหารถุงที่ตรวจทั้งหมด • พื้นที่เป้าหมาย30 % ของตลาดประเภทที่1 สุ่มตรวจ 30 ตัวอย่าง/ตลาด

  15. การดำเนินการ เมื่อพบว่า อาหารถุง มีการปนเปื้อนเกินเกณฑ์ที่กำหนด • ตรวจแนะนำที่แผง /จุดขาย/หรือสถานที่เตรียมปรุงอาหารถุง • จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการ • ใช้มาตรการทางกฎหมาย - ข้อบัญญัติท้องถิ่น - พรบ.อาหาร พ.ศ. 2522

  16. ภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมดำเนินงานภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมดำเนินงาน เจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบ การ ผู้บริโภค

  17. เจ้าหน้าที่ • พัฒนาความรู้และทักษะการดำเนินงาน Food Inspector • ผลักดันให้มีการใช้มาตรการด้านกฎหมาย

  18. ผู้ประกอบการ • มีความรู้ วิชาการ เทคโนโลยี ทันสมัย • รวมกลุ่มเป็นชมรม • จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค โดยการประกอบอาหาร/จำหน่ายอาหารที่สะอาด

  19. ผู้บริโภค • กระตุ้นให้ประชาชนตระหนัก ตื่นตัว เรื่องความปลอดภัยอาหารมากขึ้น • เลือกบริโภคอาหารที่ผ่านการรับรองจากหน่วยงานราชการ เช่น ร้านทีมีป้าย Clean Food Good Taste อาหารสด มีป้ายอาหารปลอดภัย • Food Spy - แจ้งเบาะแสร้านที่ไม่สะอาด - สนับสนุนร้านที่ดี

  20. เทศบาล/อบต.จะมีส่วนสนับสนุนการดำเนินการอย่างไร?เทศบาล/อบต.จะมีส่วนสนับสนุนการดำเนินการอย่างไร? • ออกเทศบัญญัติ/ข้อกำหนดท้องถิ่น • บทบาทเจ้าพนักงานท้องถิ่น -ตรวจแนะนำ/ตรวจสอบ/เฝ้าระวัง • ส่งเสริม/สนับสนุน ผู้ประกอบการให้ปฏิบัติตาม ข้อกำหนดท้องถิ่น • อบรม/ประชาสัมพันธ์

  21. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน

  22. เงื่อนไข • ความรู้ มีความรู้ด้านวิชาการต่างๆ • คุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต อดทน พากเพียร

  23. ขอบคุณ

More Related