310 likes | 1.42k Vues
การบริหารงานในสถานการณ์ วิกฤต พล.ต.ท. ประยูร อำมฤต ผบช.ตชด. หลักการบริหารวิกฤตการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้น. พล.ต.ท .ประยูร อำมฤต ผู้บัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน. Role of Police in Managing a Crisis / RPM. RPM. Role of Police in Managing a Crisis.
E N D
การบริหารงานในสถานการณ์วิกฤตการบริหารงานในสถานการณ์วิกฤต พล.ต.ท. ประยูร อำมฤต ผบช.ตชด. โครงการสัมมนาเพิ่มประสิทธิภาพ ผบก.ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ประจำปี ๒๕๕๓ จัดทำโดย กลุ่มงานอาจารย์ กองบัญชาการศึกษา
หลักการบริหารวิกฤตการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้น พล.ต.ท.ประยูร อำมฤต ผู้บัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน Role of Police in Managing a Crisis / RPM
RPM Role of Police in Managing a Crisis ปัญหาของการบริหารวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น (ในอดีต) บทบาทหน้าที่ รัฐบาลในฐานะผู้กำหนดนโยบาย ผู้ว่าราชการจังหวัด ในฐานะผู้รับผิดชอบการบริหารสั่งการ ตำรวจในฐานะผู้รักษาความสงบเรียบร้อย ทหารในฐานะผู้สนับสนุนช่วยเหลือ หน่วยงาน/องค์กรต่างๆ ในฐานะเจ้าภาพในปัญหาต่างๆ ใคร/หน่วยงาน ? ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและควรจะต้องเข้าร่วมใน การแก้ไขวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น......
RPM Role of Police in Managing a Crisis ปัญหาของการบริหารวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น (ในอดีต) บทบาทหน้าที่ แนวทางแก้ไข รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ระเบียบ / คำสั่ง ข้อบังคับ แผนปฏิบัติการ แผนเผชิญเหตุ ใคร/หน่วยงาน ? ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและควรจะต้องเข้าร่วมใน การแก้ไขวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น...... แผนกรกฎ 52 ? เป็นแนวทางหลัก ในการแก้ไข.....วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นของ ตร.
RPM Role of Police in Managing a Crisis ปัญหาของการบริหารวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น (ในอดีต) บทบาทหน้าที่ แนวทางแก้ไข วิธีการปฏิบัติ ใคร/หน่วยงาน ? ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและควรจะต้องเข้าร่วมใน การแก้ไขวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น...... แผนกรกฎ 52 ? เป็นแนวทางหลัก ในการแก้ไข.....วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นของ ตร. การใช้กำลัง ? หลักสากล...... มีความจำเป็น วิธีการเหมาะสม เป็นที่ยอมรับ
5. พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (2550) RPM Role of Police in Managing a Crisis กฎหมาย...ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารวิกฤตการณ์ 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (2550) 2. พรบ.กฎอัยการศึก (พ.ศ.2457) 3. พรก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน 4. พรบ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
RPM Role of Police in Managing a Crisis พรก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พรบ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร • สถานการณ์ในภาวะไม่ปกติ เฉพาะพื้นที่ในกรณีมีสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง • นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ประกาศโดยผ่านความเห็นชอบจาก ครม. (ภายใน 3 วัน) • นายกรัฐมนตรีประกาศยกเลิก • ต้องประกาศพื้นที่ / หมดอายุภายใน 3 เดือน • ออกข้อกำหนด (5 ห้าม 1ให้ ) 1. ห้าม ออกนอกเคหสถาน 2. ห้าม มิให้ชุมนุมมั่วสุม 3. ห้าม เสนอข่าว จำหน่าย เผยแพร่ สิ่งพิมพ์ต่างๆ 4. ห้าม ใช้เส้นทางคมนาคมหรือยานพาหนะ 5. ห้าม ใช้อาคารหรือเข้าไป/อยู่ในสถานที่ใด ๆ 6. ให้ อพยพประชาชนออกจากพื้นที่ที่กำหนด • ไม่รับผิดชอบทางแพ่ง/อาญา(หากสุจริต) แต่ไม่ตัดสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากรัฐ • สถานการณ์ในภาวะปกติและภาวะไม่ปกติ • ภาวะปกติไม่ต้องประกาศ แต่หากภาวะไม่ปกติ ครม.มีมติให้ กอ.รมน.เป็นผู้รับผิดชอบในพื้นที่ • นายกรัฐมนตรีประกาศยกเลิก (ต้องรายงานผล ให้สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ทราบ) • ภาวะไม่ปกติต้องประกาศพื้นที่ • ออกข้อกำหนด (4 ห้าม 2ให้ ) 1. ห้าม เข้า-ออก พื้นที่ อาคาร สถานที่ เวลาปฏิบัติการ 2. ห้าม ออกนอกเคหสถานในเวลาที่กำหนด 3. ห้าม นำอาวุธออกนอกเคหสถาน 4. ห้าม การใช้เส้นทางคมนาคม / ใช้ยานพาหนะ 5. ให้ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ปฏิบัติการ / งดเว้นปฏิบัติการ 6. ให้ ปฏิบัติ/งดเว้นปฏิบัติ เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ • ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายปกติ
6. การติดต่อประสานงานฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง RPM Role of Police in Managing a Crisis ขั้นตอนการปฏิบัติมาตรฐาน Standard Operation Procedure / SOP ขั้นเตรียมการ 1. อำนาจหน้าที่ (กฎหมาย / ระเบียบ / คำสั่ง) 2. การติดตามข้อมูลข่าวสาร ความเคลื่อนไหว 3. การประเมินสถานการณ์ ความรุนแรงเกิดขึ้น 4. การจัดเตรียมแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง 5. การประชุม / ชี้แจง / ซักซ้อมการปฏิบัติ
6. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น RPM Role of Police in Managing a Crisis ขั้นตอนการปฏิบัติมาตรฐาน Standard Operation Procedure / SOP ขั้นแก้ไขสถานการณ์ 1. จัดตั้ง บก.เหตุการณ์ (หลัก / รอง / ส่วนหน้า) 2. หลักการนำหน่วยปฏิบัติเข้าพื้นที่ปฏิบัติการ 3. การบริหารวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น / อาจเกิดขึ้น 4. การติดตามสถานการณ์....ก่อนปฏิบัติการ 5. ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการ / ตามที่ซักซ้อม
RPM Role of Police in Managing a Crisis ขั้นตอนการปฏิบัติมาตรฐาน Standard Operation Procedure / SOP ขั้นฟื้นฟูหลังแก้ไขสถานการณ์ 1. การควบคุมสถานการณ์ 2. การสอบสวนดำเนินคดี 3. การสรุปประเมินผลการปฏิบัติ 4. การประชาสัมพันธ์การปฏิบัติ 5. การป้องกันเหตุแทรกซ้อน / ซ้ำ
RPM Role of Police in Managing a Crisis ทีมบริหารวิกฤตการณ์ Crisis Management Team แผน/ยุทธการ สนับสนุน/ ส่งกำลังบำรุง สืบสวน/สอบสวน ผบ.เหตุการณ์ ฝ่ายอื่นที่เกี่ยวข้อง ประชาสัมพันธ์/ เจรจาต่อรอง ประสานข้อมูล
หลักการบริหารวิกฤตการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้น พล.ต.ท.ประยูร อำมฤต ผู้บัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน Q&A Role of Police in Managing a Crisis / RPM