1 / 19

ประเภทของเสียง

ประเภทของเสียง. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจพนัส เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เด็กหญิง อรวรา ผุดผ่อง. เสียง.

questa
Télécharger la présentation

ประเภทของเสียง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเภทของเสียง เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจพนัส เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เด็กหญิง อรวรา ผุดผ่อง

  2. เสียง • เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับมัลติมีเดีย

  3. ทำความรู้จักกับเสียง • เสียง (Sound)อยู่ในรูปแบบของพลังงาน (Energy) เหมือนกับพลังงานความร้อน (Heat) และพลังงานแสง (Light) ที่สามารถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงพลังงานที่อยู่ในรูปแบบคลื่นที่ประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และความถี่ (Frequency) ของคลื่นเสียง ตัวอย่างเช่น เมื่อสั่นกระดิ่งจะเกิดเป็นพลังงานเดินทางผ่านตัวกลางที่เป็นอากาศเพื่อถ่ายทอดพลังงานดังกล่าว และสะท้อนมายังหูของมนุษย์ เป็นต้น

  4. องค์ประกอบของระบบเสียงองค์ประกอบของระบบเสียง • การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งานบนคอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการบันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการเหล่านี้จำเป็นต้องรับและแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับประมวลผลและแปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ลำโพง (Speaker) และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer)

  5. ไมโครโฟน • ไมโครโฟน (Microphone)เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียง (Sound wave) จากแหล่งกำเนิดเสียง เช่น เสียงพูด เสียงเพลง หรือเสียงดนตรี เป็นต้น ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยความถี่เสียงจะเคลื่อนที่ไปตามสายไม่โครโฟนสู่เครื่องขยายเสียง และสามารถบันทึกเสียงได้ด้วยการแปลงพลังลังงานเสียงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า

  6. ชนิดของไมโครโฟน • ไดนามิกไมโครโฟน (Dynamic Microphone) หรือ มูฟวิ่งคอยล์ไมโครโฟน (Moving Coil Microphone) เป็นไมโครโฟนชนิดขดลวดเคลื่อนที่ ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียงไปเป็นคลื่นสัญญาณไฟฟ้า โดยอาศัยคุณสมบัติของการเหนียวนำทางแม่เหล็กไฟฟ้า • คอนเดนเซอร์ไมโครโฟน เป็นไมโครโฟนที่ประกอบด้วยไดอะเฟรมที่มีลักษณะคล้ายกับแผ่นเก็บประจุไฟฟ้าที่เป็นโลหะบางๆ

  7. เครื่องขยายเสียง • เครื่องขยายเสียง (Amplifier) เป็นอุปกรณ์สำหรับการขยายสัญญาณอินพุตให้มีความดังหรือแอมพลิจูตเพิ่มขึ้นโดยเครื่องขยายเสียงจะประมวลผลสัญญาณโดยใช้ชุดของทรานซิสเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่บนแผงวงจรและใช้พลังงานจากพาวเวอร์ซับพลาย โดยสัญญาณอินพุตจะถูกขยายให้มีแอมพลิจูตเพิ่มขึ้นแต่มีรูปแบบคลื่อนเหมือนเดิม

  8. ลำโพง • ลำโพง Speakerเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับแปลงพลังงานทางไฟฟ้ากลับเป็นพลังงานเสียง ซึ่งมีฟังก์ชันการทำงานตรงข้ามกับไมโครโฟนหรือเครื่องขยายเสียง โดยจะทำหน้าที่ได้รับมาจากเครื่องขยายเสียง สามารถแบ่งลำโพงออกเป็น 2 ชนิดได้แก่ ลำโพงแบบไดนามิก (Dynamic Speaker) และลำโพงชนิดเสียงทุ้ม (Woofer) กับลำโพลงชนิดเสียงแหลม (Tweeter)

  9. ชนิดของลำโพง • ลำโพงแบบไดนามิก (Dynamic Speaker) ประกอบด้วยขดลวด (Wire Coil) และกรวยกระดาษ (Paper Cone) ที่ทำจากกระดาษ (Paper) หรือ ไฟเบอร์ (Fiber) เรียกว่าไดอะแฟรม ซึ่งติดกับขดลวด • ลำโพงชนิดเสียงทุ้ม คือ 1) ระดับเสียงทุ้ม (Woofer) เป็นเสียงที่มีความถี่ต่ำประมาณ 20 ถึง 400 เฮิรตซ์ หรือเรียกว่า “เสียงเบส2) ระดับเสียงแหลม (Tweeter) เป็นเสียงที่ใความถี่สูงอยู่ในช่วงระหว่าง 4 ถึง 20 กิโลเฮิรตซ์ ความถี่สูงสุดของเสียงเรียกว่า “ระดับเสียงสูงสุด”

  10. อุปกรณ์ผสมสัญญานเสียงอุปกรณ์ผสมสัญญานเสียง • อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) เป็นเครื่องมือสำหรับบันทึก และแก้ไขเสียงในแต่ละแทร็กได้อย่างอิสระ เช่น สามารถควบคุมระดับของเสียง (Volumn) จังหวะ (Tempo) และระงับเสียง (Mute) ซึ่งการแก้ไขและจัดการแทร็กเสียงต่างๆ จะไม่ส่งผลกระทบต่อแทร็กอื่นๆ

  11. ประเภทของเสียง • ประเภทของเสียงสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท • มิดี้ (MIDI) คือเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ ซึ่งได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 สำหรับใช้กับเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ เช่น สร้างเสียงตามเครื่องเล่นเปียโน เป็นต้น • ดนตรีแบบดิจิตอล (Digital Audio) คือสัญญาณเสียงที่ส่งมากจากไมโครโฟนหรือเล่นเทป หรือจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากธรรมชาติ และที่สร้างขึ้นเอง และนำข้อมูลที่ได้มาแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล ข้อมูลจะถูกสุ่มให้อยู่ในรูปแบบของบิตข้อมูล โดยเรียกอัตราการสุ่มข้อมูลที่ได้มาว่า “Sampling Rate”

  12. อุปกรณ์สำหรับความคุมและบันทึกเสียงอุปกรณ์สำหรับความคุมและบันทึกเสียง • การ์ดเสียง (Sound Card) เป็นอุปกรณ์ควบคุมเสียงที่สามารถเพิ่มลงในสล็อต PCI หรือ PCI Express บนเมนบอร์ดของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะเชื่อมต่อละทำงานร่วมกับอุปกรณ์ต่างๆ บนคอมพิวเตอร์ เช่น ซีพียู และลำโพง

  13. องค์ประกอบสำคัญของการ์ดเสียงองค์ประกอบสำคัญของการ์ดเสียง • หน่วยความจำ (Memory Bank) • ตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล • ตัวแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก • เวฟเทเบิล (Wave Table) • พอร์ตอินพุต และพอร์ตเอาท์พุตของเสียง (Input and Output Port)

  14. การประมวลผลไฟล์เสียง • การประมวลผลไฟล์เสียงมีอยู่ 2 ชนิด ดังนี้ • Wave File เป็นไฟล์ของคลื่นเสียงในรูปแบบอนาล็อก โดยการ์ดเสียงจะได้รับเสียงในรูปแบบสัญญาณอนาล็อกจากไมโครโฟน หรือเครื่องเล่นซีดี • MIDI File เป็นไฟล์ที่ต้องการชิปสำหรับสังเคราะห์เสียงแบบมิดี้ หรือ Synthesize Chip โดยจะเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับไฟล์ MIDI

  15. อุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณเสียง • อุปกรณ์สำหรับถ่ายทอดสัญญาณเสียงที่สำคัญมีดังนี้ • Phone Audio Jack • RCA Jack • XLR Audio Connector

  16. อุปกรณ์บันทึกเสียง • ในปัจจุบันมีอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับจัดเก็บ และบันทึกข้อมูลเสียงหลากหลายชนิด ดังนี้ • Compact Disc Digital Audio System • Digital Audio Tape (DAT) • Digital Data Storage (DDS) • Digital Compact Cassette (DCC) • MiniDisc (MD)

  17. ขั้นตอนการนำเสียงมาใช้งาน ขั้นตอนต่อไปนี้ • ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงชนิดใดกับงานที่ออกแบบไว้ เช่น เพลง เสียงพิเศษประกอบการนำเสนอ หรือเสียงพูด • เป็นต้น ซึ่งต้องกำหนดตำแหน่งหรือเวลาในการแสดงเสียงให้เหมาะสมด้วย • ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงแบบมิดี้ หรือใช้เสียงแบบดิจิตอลที่ไหนและเมื่อไหร่ • พิจารณาว่าจะสร้างข้อมูลเสียงขึ้นมาเองหรือซื้อสำเร็จรูปมาใช้งานจึงจะเหมาะสม • นำไฟล์เสียงมาทำการปรับแต่งให้เหมาะสมกับมัลติมิเดียที่ออกแบบ แล้วนำมารวมเข้ากับงานมัลติมิเดียที่ทำการผลิต • ทดสอบการทำงานของเสียงให้มั่นใจว่า เสียงที่นำเสนอมีความสัมพันธ์กับภาพในงานมัลติมเดียที่ผลิตขึ้น

  18. สรุป • เสียง(Audio) อยู่ในรูปของแบบพลังงาน(Energy) เหมือนพลังงานความร้อน (Hert)และพลังงานแสง (Light) ที่สามรรถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงให้อยู่ในรูปแบบคลื่นเสียงประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และความถี่(Frequency) โดนปกติกมนุษย์ สามมารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ระหว่าง 20ถึง20,000 เฮริต์

More Related