1.19k likes | 1.4k Vues
เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย เพื่อขอรับทุน 17-18 มีนาคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก จังหวัดตาก. โดย ศิลป์ชัย นิล กรณ์ ส่วนการฝึกอบรมและพัฒนา สำนักอำนวยการกลาง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ Sil p chai_03@yahoo.com 08-1846-5396. แนวการประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย.
E N D
เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย เพื่อขอรับทุน 17-18 มีนาคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก จังหวัดตาก โดย ศิลป์ชัย นิลกรณ์ ส่วนการฝึกอบรมและพัฒนา สำนักอำนวยการกลาง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ Silpchai_03@yahoo.com 08-1846-5396
แนวการประเมินข้อเสนอโครงการวิจัยแนวการประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย 20 % 20 % 30 % 10 % 20 % โจทย์ INPUT PROCESS OUTPUT OUTCOME IMPACT • ผลผลิต • เกิดมูลค่าเพิ่ม E • สร้างคุณค่า S C • ดัชนีชี้วัดอะไร • มีสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร • สร้างนักวิจัยใหม่จำนวน • ผลลัพธ์/กระทบ ตอบ • ลดการนำเข้า • เพิ่มรายได้/ขีดความสามารถ • ผลมวลรวม สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม • สนองตอบ • แผนพัฒนาชาติฉบับที่ 11 • ยุทธศาสตร์การวิจัย วช. ฉบับที่ 8 • นโยบายรัฐบาล • แผนปฏิบัติการหน่วยงาน • แผนพื้นที่ • นำมากำหนดนโยบายได้ • กระบวนการวิจัย • ระเบียบวิธีวิจัย สถิติ • ถูกต้อง ชัด ตอบวัตถุประสงค์ • มีแผนการถ่ายทอด • สู่กลุ่มเป้าหมาย ชัด • ดูความสอดคล้อง • 1.ยุทธศาสตร์การพัฒนา • ตามแผนฯ ฉบับที่ 11 • (2555-2559) • 2.นโยบายและยุทธศาสตร์ • การวิจัย ของ วช.ฉบับที่ 8 • 3.กลุ่มเรื่องเร่งด่วน ตาม • ข้อ 2 • 4.นโยบายรัฐบาล • 5.แผนหน่วยงาน พื้นที่วิจัยนำมาใช้ร่วมกัน • โจทย์หัวข้อ • เร่งด่วน สำคัญ น่าสนใจ • วัตถุประสงค์รูปธรรม จัดเจน • ความพร้อม • คณะนักวิจัย/ปรึกษา • ทบทวนวรรณกรรมอ้างอิง • แผนโครงการชัดเจน ตอบวัตถุประสงค์ • งบประมาณเหมาะสม
แหล่งทุนวิจัย 1.ทุนที่เสนอผ่าน วช. มี 2 ประตูใหญ่ 4 ประตูเล็ก ประตู 1 ผ่านระบบ NRPM ของภารกิจมาตรฐานระบบวิจัย(ภม) ดูด้านวิชาการ สำนักงบประมาณ จ่ายเงินตรงกับหน่วยงาน หมวดเงินอุดหนุน ใช้แบบฟอร์ม ว.1 ด. และ ว.1 ช. ประตู 2 ผ่าน ภารกิจโครงการและประสานงานวิจัย(ภค) วช.จ่ายทำสัญญากับ วช. ใช้แบบฟอร์ม ภค.1 ช. และ ภค.1 ย. ประตูเล็ก 4 ประตู ผ่าน ภารกิจการต่างประเทศ (ภต) ภารกิจนโยบายและยุทธสาสตร์การวิจัย(ภน) ภารกิจบริหารจัดการผลงานวิจัย(ภบ) ภารกิจสร้างเศรษฐกิจและสันติสุข(ภศส) 2.ทุนจากแหล่งทุนอื่นๆ
ประตู 1 ผ่านระบบ NRPM ภารกิจมาตรฐานระบบวิจัย(ภม)วช. เปิดรับส่งผ่านระบบ กรกฎาคม-1พฤศจิกายน ประกาศผล 1 กุมภาพันธ์ ปี 54 เสนอขอ 6,199,199,432 บาท สนับสนุน 4,065,557,587 บาท ประตู 2 ผ่าน วช.โดย ภค. งบประมาณ 400-500 ล้านบาท รอบที่ 1 มกราคม-มีนาคม รอบที่ 2 กรกฎาคม-สิงหาคม รอบที่ 3 กันยายน-ตุลาคม ประกาศผลไม่เกิน 3 เดือน ในปีงบประมาณ ต่อไป ส่งผ่าน NRPM หมด
ประตู 3 มี 4 ประตูเล็กผ่าน 1.ภารกิจการต่างประเทศ (ภต) 2.ภารกิจนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย(ภน) 3.ภารกิจบริหารจัดการผลงานวิจัย(ภบ) 4.ภารกิจสร้างเศรษฐกิจและสันติสุข(ภศส) เข้าไปที่ www.nrct.go.th
ข้อบกพร่องในการเขียนข้อเสนอการวิจัยข้อบกพร่องในการเขียนข้อเสนอการวิจัย เพื่อให้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย จาก ผู้พิจารณาให้ทุน ปี 2553
การเขียนความสำคัญของปัญหา 1. ขาดความเชื่อมโยงอย่างเป็นเหตุเป็นผล 2.ไม่สอดคล้องกับชื่อเรื่อง และวัตถุประสงค์
การเขียนวัตถุประสงค์ • ไม่สอดคล้องกับความสำคัญของปัญหา • ไม่สอดคล้องกับชื่อเรื่อง *ไม่มีความคิดริเริ่มหรือความคิดใหม่ คำถามการวิจัย หรือว่าวัตถุประสงค์ของการวิจัยไม่ชัดเจน
ขั้นของการตรวจสอบเอกสารขั้นของการตรวจสอบเอกสาร • ไม่ตรวจสอบเอกสารจากแหล่งปฐมภูมิ • เอกสารที่ตรวจสอบไม่เกี่ยวข้องโดยตรง • ไม่มีการสังเคราะห์
การเลือกตัวอย่าง • ไม่ระบุวิธีการเลือกตัวอย่าง • ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างไม่เหมาะสม
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล • ไม่ระบุวิธีการสร้างเครื่องมือ • ไม่ระบุรายละเอียดของวิธีการสร้างเครื่องมือ • ไม่มีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ • วิธีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ • ไม่เหมาะสม
การรวบรวมข้อมูล • ไม่ระบุรายละเอียดของการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล • ไม่ระบุสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล • ระบุสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลไม่เหมาะสม เขียนรวม ๆ หรือใส่สถิติทุกชนิดที่รู้จัก
จุดตายของข้อเสนอโครงการวิจัยจุดตายของข้อเสนอโครงการวิจัย เพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย วช. โดย ผู้พิจารณาให้ทุน ดร.ธรรมชัย เชาว์ปรีชา กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
1.ตายน้ำตื้น? • ไม่ถูกต้องตามเงื่อนไข • ส่งเอกสารไม่ครบในส่วนประกอบต่างๆ • เอกสารบางหน้าขาดหายไป • พิมพ์ผิดในส่วนที่สำคัญ • ไม่ทันกำหนดเวลา
2.ตาย...แบบไม่รู้ตัว • ไม่เข้าใจ TOR • ไม่ใช่โครงการวิจัย • ไม่เข้าใจ นิยาม หรือ ความหมาย คำสำคัญที่ใช้
3.ตาย...แบบไร้ความหมาย • ความสำคัญ ของปัญหา(ที่มา) ไม่ชัดเจน • ที่มา ความสำคัญของปัญหา ไม่สัมพันธ์กับโจทย์ • โจทย์วิจัยไม่ชัดเจน • ผลที่คาดว่าจะได้รับไม่ชัดเจน • การนำไปใช้ประโยชน์ ไม่ชัดเจน • การถ่ายทอดเทคโนโลยีไม่ชัดเจน
4.ตายซ้ำ...ตายซาก • ทำซ้ำซ้อนกับคนอื่น • ไม่ได้ทบทวนวรรณกรรมให้ดี • ทำในเรื่องที่ไม่จำเป็นต้องวิจัย • ทำซ้ำต่างแค่รายละเอียดเล็กน้อย
5.ตาย...เพราะมือไม่ถึง • พื้นฐาน ประสบการณ์ ไม่สอดคล้องกับความยาก • ทำคนเดียว ขาดทีมงานเสริม แก้จุดอ่อน • ไม่ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ • เอกสารอ้างอิงน้อย เชย ล้าสมัย มีแต่ภาษาไทย
6.ตาย...เพราะไม่เข้าใจ • กรอบการวิจัย ตัวแปร สับสน • ระเบียบวิธีวิจัย ไม่เหมาะสม • การใช้สถิติวิจัย การสุ่มต้วอย่าง ไม่เหมาะสม/ไม่ สอดคล้องกับโจทย์
7.ตาย...เพราะแผนการการดำเนินงาน7.ตาย...เพราะแผนการการดำเนินงาน • แผนการดำเนินงาน ไม่สอดคล้องกับ เงื่อนเวลา • แผนการดำเนินงาน เป็นแบบหยาบ ไม่ชัดเจน • แผนการดำเนินงาน มีขั้นตอนไม่เหมาะสม • ไม่มีคำอธิบายประกอบ แผนการดำเนินงาน ให้ชัดเจน
8.ตาย...เพราะเงิน • จัดทำรายการไม่จำเป็น มาเป็นค่าใช้จ่าย • ไม่มีคำอธิบายประกอบ ให้เข้าใจ • มีการจัดซื้อครุภัณฑ์ สำนักงาน เช่น PC เครื่องพิมพ์ • ค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เรื่องหลัก สูงมาก • ค่าใช้จ่าย โดยรวม สูงเกินไป
แบบฟอร์มวิเคราะห์ข้อมูลข้อเสนอการวิจัยแบบฟอร์มวิเคราะห์ข้อมูลข้อเสนอการวิจัย ที่ไม่ได้รับการสนับสนุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
ตัวชี้วัดความสำเร็จ และค่าเป้าหมาย ของงานวิจัยและพัฒนา
ผลสำเร็จที่คาดว่าจะได้รับผลสำเร็จที่คาดว่าจะได้รับ ผลสำเร็จ = ผลผลิต + ผลลัพธ์ ผลกระทบ
ผลการวิจัยก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสร้างคุณค่าเพิ่มทางสังคมและวัฒนธรรม มีกลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับประโยชน์และผลกระทบจากการวิจัยที่คาดว่าจะเกิดขึ้น มีจำนวนนักวิจัยรุ่นใหม่ที่คาดว่าจะเกิด ผลลัพท์ของงานวิจัยทำให้เกิดผลกระทบด้านต่าง ๆ เช่น ลดการนำเข้า เพิ่มรายได้ เพิ่มขีดความสามารถ ตัวชี้วัดผลสำเร็จที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
ความคุ้มค่าของโครงการ ความคุ้มค่าของโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ความยั่งยืนและความเป็นไปได้ ในการนำผลการวิจัยไปกำหนดเป็นงานประจำหรือเป็นนโยบายในการแก้ปัญหาต่อไป มีความสามารถพัฒนาเชื่อมโยงจากท้องถิ่น โดยใช้ ภูมิปัญญาไทย ขยายผลไปสู่ระดับประเทศและ นานาชาติ ตัวชี้วัดผลสำเร็จที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
จำนวนสิทธิบัตรที่เกิดจากผลงานวิจัยจำนวนสิทธิบัตรที่เกิดจากผลงานวิจัย จำนวนผลงานวิจัย ที่ไปนำเสนอในการสัมมนาหรือที่ประชุมระดับชาติ และระดับนานาชาติ ทั้งในและต่างประเทศ จำนวนผลงานวิจัย ที่ถูกนำไปตีพิมพ์ใน วารสาร ที่เป็นที่ยอมรับในวงการ ทั้งในและต่าง ประเทศ ตัวชี้ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย
จำนวนอาจารย์ประจำสถาบัน / มหาวิทยาลัย ที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอก มีไม่น้อยกว่า 40 % ของอาจารย์ทั้งหมด ตัวชี้ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย
เขียนอย่างไรจึงจะได้รับทุน?เขียนอย่างไรจึงจะได้รับทุน? • ใช้หลักหัวใจนักปราชญ์ • หลักการเรียนรู้ของมนุษย์ • หลักการมีส่วนร่วม • หลักฝึกปฏิบัติ แบ่งกลุ่ม ร่วมคิด ร่วมทำจากตัวอย่าง • หลักการนำเสนอ วิพากษ์และปรับแก้ กำจัดจุดอ่อน • หลักเข้าใจ มั่นใจ ทำงานวิจัย ด้วยความชอบ มีความสุข • ได้ประสบการณ์ ได้เครือข่ายนักวิจัย ได้ทุนผลพลอยได้
หัวใจนักปราชญ์ (สุ จิ ปุ ลิ)
การรับรู้ของมนุษย์ • ช่องทางการรับรู้ของเรา • ทางสายตา 75% • ทางหู 13% • ทางจมูก 3% • ทางลิ้น 3% • ทางกาย 6% • ทำให้เกิดการเรียนรู้ = การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Look at this picture: what do you see? คุณมองเห็นอะไรในภาพนี้
what do you see? และ คุณมองเห็นอะไรในภาพนี้
Practical Need Personal Need
*พระพุทธเจ้าได้ทรงสอนไว้ไม่ให้เราเชื่อโดยอาการ 10 อย่าง ดังนี้ 1. อย่าได้เชื่อถือ โดยการฟังตามกันมา 2. อย่าได้เชื่อถือ โดยการถือสืบๆกันมา 3. อย่าได้เชื่อถือ โดยการเล่าลือ 4. อย่าได้เชื่อถือ โดยการอ้างตำรา
5. อย่าได้เชื่อถือ โดยตรรกะ 6. อย่าได้เชื่อถือ โดยการอนุมาน 7. อย่าได้เชื่อถือ โดยการคิดตรองตามแนวเหตุผล 8. อย่าได้เชื่อถือ เพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีของตน
9. อย่าได้เชื่อถือ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าเชื่อถือ 10. อย่าได้เชื่อถือ เพราะนับถือว่าท่าน (สมณะ) นี้ เป็นครูของเรา (ที่มา : พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ หน้า 651)
ต้องทดลองปฏิบัติด้วยตนเองให้ได้ผลก่อนต้องทดลองปฏิบัติด้วยตนเองให้ได้ผลก่อน 1.โดยเริ่มจากสิ่งที่เรามี เห็น และทำอยู่ 2. มองว่าอะไรคือปัญหา 3. หรือสิ่งใดควรปรับปรุง หรือพัฒนาให้ดีกว่า 4. ต้องตอบโจทย์ องค์กรเรา คือ วิสัยทัศน์ ภารกิจต่างๆที่เรามี เราเห็น เราทำ
ระดับการเรียนรู้ของมนุษย์ 1 การประมวลผลของสมองมนุษย์ (และคอมพิวเตอร์) Data Information Knowledge Wisdom ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ปัญญา 2 วิวัฒนาการของสังคม (1) ข้อมูล – สังคมข้อมูล (2) สารสนเทศ – สังคมสารสนเทศ (3) ความรู้ – สังคมการเรียนรู้ (4) ปัญญา - สังคมนวัตกรรม
ระดับการเรียนรู้ของมนุษย์ (ต่อ) ระดับการเรียนรู้ของมนุษย์ (1) รับฟัง จดจำ รับรู้ (2) เข้าใจ (3) นำไปใช้ (4) วิเคราะห์ (5) สังเคราะห์ (6) ประเมินคุณค่า การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
คุณลักษณะสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ในวิวัฒนาการทางสังคม โดย รศ.ดร.สุธี อักษรกิตติ์ สังคมคุณลักษณะของทรัพยากรมนุษย์ อุปมากับบัว (1) สังคมข้อมูล - รับฟัง ในตม - จดจำ (2) สังคมสารสนเทศ - รับรู้ ในน้ำ - เข้าใจ (3) สังคมการเรียนรู้ - นำไปใช้ ปริ่มน้ำ - วิเคราะห์ (4) สังคมนวัตกรรม - สังเคราะห์ เหนือน้ำ - ประเมินคุณค่า
ความรู้อยู่ที่ไหน ? • ตำรา • ห้องสมุด • คอมพิวเตอร์ • ประชุมวิชาการ • ผู้เชี่ยวชาญ • คนทำงาน • ถูกทุกข้อ