1 / 28

วินัยข้าราชการพลเรือน

วินัยข้าราชการพลเรือน. ข้าราชการต้อง ซื่อสัตย์สุจริต ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ รักษาความลับ ปฏิบัติตามคำสั่ง รักษาชื่อเสียง ฯลฯ. วินัย คือ แบบแผนความประพฤติ หรือ ข้อปฏิบัติ. วินัย คือ ลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการ ควบคุมตนเอง

ranae
Télécharger la présentation

วินัยข้าราชการพลเรือน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วินัยข้าราชการพลเรือนวินัยข้าราชการพลเรือน

  2. ข้าราชการต้อง ซื่อสัตย์สุจริต ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ รักษาความลับ ปฏิบัติตามคำสั่ง รักษาชื่อเสียง ฯลฯ วินัย คือ แบบแผนความประพฤติ หรือ ข้อปฏิบัติ

  3. วินัย • คือ • ลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการ • ควบคุมตนเอง • ปฏิบัติตามการนำ • อยู่ในระเบียบแบบแผน • มีความเป็นระเบียบ

  4. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการจุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการ 1. เพื่อให้ราชการดำเนินไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อความเจริญ ความสงบเรียบร้อยของประเทศชาติ 3. เพื่อความผาสุกของประชาชน 4. เพื่อสร้างภาพพจน์ชื่อเสียงที่ดี ของระบบราชการ

  5. ประเทศชาติ ประชาชน ผู้บังคับบัญชา ข้าราชการ ตำแหน่งหน้าที่ ผู้ร่วมงาน ตนเอง

  6. วินัยต่อประเทศชาติ • สนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย • อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตาม • รัฐธรรมนูญด้วยความบริสุทธิ์ใจ (มาตรา 81)

  7. วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการวินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ 1. ซื่อสัตย์สุจริต

  8. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต • และเที่ยงธรรม (ม.82(1)) • ไม่อาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการหาประโยชน์ ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น(ม.83(3)) • ปฏิบัติ/ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ (ม.85(1))- โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด - โดยทุจริต Video Video

  9. ปฏิบัติตรงไปตรงมา ไม่คดโกง ไม่หลอกลวง ซื่อสัตย์ สุจริต • ปฏิบัติด้วยความมุ่งหมายในทางที่ดี ที่ชอบตามทำนองคลองธรรม เที่ยงธรรม • ปฏิบัติโดยไม่ลำเอียง

  10. 1. กฎหมายหรือระเบียบ 2. มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 3. คำสั่งหรือการมอบหมายของผู้บังคับบัญชา 4. พฤตินัย หน้าที่ราชการ พิจารณาจาก

  11. 1. มีหน้าที่ราชการ 2. อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยตำแหน่ง หน้าที่นั้น 3. หาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น องค์ประกอบ มาตรา 83 (3)

  12. การทุจริตต่อหน้าที่ราชการการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ องค์ประกอบ 1. มีหน้าที่ราชการที่จะต้องปฏิบัติ 2. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ 3. เพื่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดย ทุจริต

  13. 2.ม.82 (2) * ข้าราชการต้องปฏิบัติราชการให้เป็นไปตาม - กฎหมาย - ระเบียบของทางราชการ - มติคณะรัฐมนตรี - นโยบายของทางราชการ * ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ

  14. 3. ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลดี /ความก้าวหน้าแก่ราชการด้วยความอุตสาหะ เอาใจใส่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของ ทางราชการ (ม. 82(3)) 4. * อุทิศเวลาให้แก่ราชการ (ม. 82(5)) * ละทิ้งหรือทอดทิ้ง เป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการ อย่างร้ายแรง (ม.85(2)) *ละทิ้งติดต่อเกินกว่าสิบห้าวัน / มีพฤติการณ์จงใจ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ (ม.85(3))

  15. วาง ปล่อย สละ ละเสียไม่อยู่ปฏิบัติงานตามหน้าที่ ละทิ้ง ทอดทิ้ง ไม่เอาเป็นธุระ ไม่เอาใจใส่ตัวอยู่แต่ไม่ทำงาน

  16. 5. ต้องไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ (ม.83(4)) 6. รักษาความลับของทางราชการ (ม.82(6)) 7. ไม่หาประโยชน์อันอาจทำให้เสียความเที่ยงธรรม หรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ (ม.83(5)) 8. ไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ ในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท (ม. 83(6)) 9. วางตนเป็นกลางทางการเมือง ( ม.82(9))

  17. วินัยต่อผู้บังคับบัญชาวินัยต่อผู้บังคับบัญชา • ปฏิบัติตามคำสั่ง ม.82 (4) • ไม่รายงานเท็จ ม.83 (1) • ไม่กระทำการข้ามผู้บังคับบัญชา • ม.83 (2)

  18. องค์ประกอบ มาตรา 82 (4) 1. มีคำสั่งผู้บังคับบัญชา 2. ผู้สั่งเป็นผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย - กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน - กฎหมายการจัดตั้งส่วนราชการโดยเฉพาะ - พรบ.35 ม. 43 / พรบ. 51 ม. 49 3. สั่งในหน้าที่ราชการ- ผู้สั่งมีหน้าที่ราชการและสั่งให้ปฏิบัติราชการ 4. เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ 5. มีเจตนา ขอให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคำสั่งได้ถ้าเห็นว่าจะทำให้เสียหาย / ไม่รักษาประโยชน์ของราชการ

  19. มาตรา 83 (1) องค์ประกอบ1. มีการรายงาน2. เป็นเท็จหรือปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้ง3. เป็นการรายงานต่อผู้บังคับบัญชา 4. โดยเจตนา

  20. ข้อยกเว้น 1. เป็นการปฏิบัติราชการ 2. เป็นการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน 3. เป็นผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย 1. ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปเป็นผู้สั่งให้กระทำ 2. ได้รับอนุญาตเป็นพิเศษชั่วครั้งคราว องค์ประกอบ มาตรา 83 (2)

  21. วินัยต่อประชาชน ม.82(8) ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม ให้การสงเคราะห์ ประชาชน ผู้ติดต่อราชการ เกี่ยวกับหน้าที่ของตน ม.83(9) ต้องไม่ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่หรือข่มเหงประชาชนผู้ติดต่อราชการ ม.85(5) ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหงหรือทำร้ายประชาชนผู้ติดต่อราชการอย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง

  22. บริการประทับใจ 6. อ่อนหวานน่ารัก 7. ไม่สักแต่ทำ 8. น้ำคำไพเราะ 9. เหมาะสมสถานที่ 10. ไม่มีนอกใน 1. ยิ้มแย้มแจ่มใส 2. เต็มใจช่วยเหลือ 3. ไม่เบื่อคำถาม 4. ฟังความครบถ้วน 5. รีบด่วนบริการ

  23. บริการยอดแย่ 6. ล้าสมัย 7. ไม่แน่ชัด 8. ปัดสวะ 9. ละเลย 10. เฉยชา 1. ปากหมา 2. หน้ายักษ์ 3. ตักตวง 4. ถ่วงเรื่อง 5. เชื่องช้า

  24. วินัยต่อผู้ร่วมงาน ม. 82 (7) ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือกัน ในการปฏิบัติราชการ ม. 83 (7) ต้องไม่กลั่นแกล้ง กดขี่ ข่มเหงกัน ในการปฏิบัติราชการ ม. 83 (8) ต้องไม่กระทำการล่วงละเมิด / คุกคามทางเพศ

  25. วินัยต่อตนเอง - ต้องรักษาชื่อเสียงของตน รักษาเกียรติศักดิ์ ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย (ม.82(10)) - ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง (ม.85(4)) -กระทำผิดอาญาจนได้รับโทษจำคุก (ม85(6))

  26. แนวทางการพิจารณาเรื่อง “ประพฤติชั่ว” • เสียเกียรติของตำแหน่งหน้าที่การงาน • สังคมรังเกียจ • กระทำโดยเจตนา

  27. ข้อควรคำนึง • ความผิดวินัยไม่มีอายุความ • การลงโทษต้องดำเนินกระบวนการตามกฎหมาย • ผู้สั่งลงโทษต้องเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจลงโทษได้ • สภาพการเป็นข้าราชการ • - ขณะกระทำผิด • - ขณะลงโทษ

  28. สำนักมาตรฐานวินัย สำนักงาน ก.พ. โทร . (02) 547-1631 www.ocsc.go.th

More Related