1 / 87

สุกัญญา มงคลวรกิจชัย กลุ่มงานสรรหาและแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภาคเอกชน

ระเบียบและคำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์เกี่ยวกับการบัญชีของสหกรณ์. สุกัญญา มงคลวรกิจชัย กลุ่มงานสรรหาและแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภาคเอกชน สำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี. ระเบียบ & คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ.

Télécharger la présentation

สุกัญญา มงคลวรกิจชัย กลุ่มงานสรรหาและแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภาคเอกชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบและคำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์เกี่ยวกับการบัญชีของสหกรณ์ระเบียบและคำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์เกี่ยวกับการบัญชีของสหกรณ์ สุกัญญา มงคลวรกิจชัย กลุ่มงานสรรหาและแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภาคเอกชน สำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี

  2. ระเบียบ & คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ

  3. ระเบียบ & คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ • คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติ • ทางบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ พ.ศ. 2547 • ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการจัดชั้นคุณภาพ • ลูกหนี้เงินกู้และการเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ พ.ศ. 2544 • ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการตัดจำหน่ายหนี้สูญ • จากบัญชีลูกหนี้ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร พ.ศ. 2546

  4. ระเบียบ & คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ • - คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทาง • บัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ พ.ศ. 2547 • ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการตัดสินค้า • ขาดบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร พ.ศ. 2546

  5. คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ พ.ศ. 2547

  6. ลูกหนี้เงินกู้ บันทึกบัญชีโดยใช้สัญญาเงินกู้เป็นหลักฐาน • จ่ายเงินกู้ Dr. ลูกหนี้เงินกู้ ............. xx Cr. เงินสด / เงินฝากธนาคาร xx • รับชำระหนี้เงินกู้ • Dr. เงินสด / เงินฝากธนาคาร xx • Cr. ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ xx • ดอกเบี้ยรับจากเงินให้กู้ xx • ลูกหนี้เงินกู้ ……. xx

  7. ลูกหนี้เงินกู้(ต่อ) • กรณีมีค่าปรับเงินให้กู้ • Dr. เงินสด / เงินฝากธนาคาร xx • Cr. ค่าปรับค้างรับ xx • ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ xx • รายได้ค่าปรับลูกหนี้เงินกู้ xx • ดอกเบี้ยรับจากเงินให้กู้ xx • ลูกหนี้เงินกู้ ……. xx

  8. ลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่งลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่ง สหกรณ์มอบให้บุคคล/หน่วยงานเป็นตัวแทนในหน่วยต่าง ๆ หักเงินของสมาชิกส่งให้สหกรณ์เป็นรายงวด • เมื่อสหกรณ์ส่งเอกสารให้ตัวแทนหักเงินของสมาชิก • Dr. ลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่ง xx • Cr. ลูกหนี้เงินกู้............. xx • ดอกเบี้ยรับจากเงินให้กู้ xx • ค่าธรรมเนียมแรกเข้า xx • ทุนเรือนหุ้น xx

  9. ลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่ง (ต่อ) • กรณีได้รับชำระครบตามจำนวนที่ส่งให้ตัวแทนหักเงิน • Dr. เงินสด / เงินฝากธนาคาร xx • Cr. ลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่ง xx • กรณีได้รับชำระไม่ครบตามจำนวนที่ส่งให้ตัวแทนหักเงิน • ให้ยกเลิกใบเสร็จรับเงินที่หักชำระไม่ได้/หักชำระได้บางส่วน • แล้วออกใบเสร็จรับเงินใหม่ สำหรับรายที่หักชำระได้บางส่วน • ตามจำนวนเงินที่ได้รับชำระจริง

  10. ลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่ง (ต่อ) • บันทึกการรับชำระเงิน + โอนกลับรายการที่ตั้งไว้ • Dr. เงินสด / เงินฝากธนาคาร xx • ลูกหนี้เงินกู้................xx • ดอกเบี้ยรับจากเงินให้กู้ xx • ค่าธรรมเนียมแรกเข้า xx • ทุนเรือนหุ้น xx • Cr. ลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่ง xx

  11. ลูกหนี้คลาดเคลื่อน ให้ถือจำนวนเงินในบัญชีย่อยลูกหนี้เป็นหลัก ปรับปรุงบัญชีแยกประเภทลูกหนี้ให้เท่ากับบัญชีย่อยลูกหนี้ บัญชีย่อยลูกหนี้ต่ำกว่าบัญชีแยกประเภทลูกหนี้ บัญชีย่อยลูกหนี้สูงกว่าบัญชีแยกประเภทลูกหนี้

  12. บัญชีย่อยลูกหนี้ ต่ำกว่าบัญชีแยกประเภทลูกหนี้ 1. นำผลต่างมาปรับปรุงบัญชี Dr. ลูกหนี้.........คลาดเคลื่อน xx Cr. ลูกหนี้....................... xx Dr. หนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้…… คลาดเคลื่อน xx Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้…… คลาดเคลื่อน xx 2. ถ้าค้นหาสาเหตุของข้อคลาดเคลื่อนพบ ให้ปรับปรุงบัญชี 3. ถ้าค้นหาสาเหตุไม่พบ ให้ขออนุมัติตัดเป็นหนี้สูญ

  13. ณ วันสิ้นทางบัญชี 31 มี.ค. X1 ลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้นตามบัญชี 100,000.-บาท ยอดรวมบัญชีย่อย 98,000.- บาท ตัวอย่าง ผลต่าง บัญชีย่อย < บัญชีคุมยอด 2,000.- บาท Dr. ลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้นคลาดเคลื่อน 2,000.- Cr. ลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้น 2,000.- Dr. หนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้นคลาดเคลื่อน2,000.- Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้นคลาดเคลื่อน2,000.-

  14. บัญชีย่อยลูกหนี้ สูงกว่าบัญชีแยกประเภทลูกหนี้ 1. นำผลต่างมาปรับปรุงบัญชี Dr. ลูกหนี้.......................... xx Cr. ค่าเผื่อลูกหนี้............คลาดเคลื่อน xx 2. ถ้าค้นหาสาเหตุของข้อคลาดเคลื่อนพบ ให้ปรับปรุงบัญชี 3. ถ้าค้นหาสาเหตุไม่พบ ให้โอนบัญชีค่าเผื่อลูกหนี้คลาดเคลื่อน ไปบัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้ประเภทนั้น ๆ Dr. ค่าเผื่อลูกหนี้…….… คลาดเคลื่อน xx Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้………… xx

  15. ตัวอย่าง ณ วันสิ้นทางบัญชี 31 มี.ค. X1 ลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้นตามบัญชี 100,000.-บาท ยอดรวมบัญชีย่อย110,000.- บาท ผลต่าง บัญชีย่อย > บัญชีคุมยอด 10,000.- บาท Dr. ลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้น10,000.- Cr. ค่าเผื่อลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้นคลาดเคลื่อน 10,000.-

  16. ลูกหนี้ระหว่างดำเนินคดีลูกหนี้ระหว่างดำเนินคดี จะโอนเป็นลูกหนี้ระหว่างดำเนินคดีก็ต่อเมื่อ สหกรณ์ได้ยื่นฟ้องต่อศาล และศาลได้ประทับรับฟ้องแล้ว Dr. ลูกหนี้ระหว่างดำเนินคดี xx Cr. ค่าปรับค้างรับ xx ดอกเบี้ยค้างรับ xx รายได้ค่าปรับ xx ดอกเบี้ยรับ xx ลูกหนี้เงินกู้…….. xx

  17. การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ • ส่วนที่เป็นดอกเบี้ยและค่าปรับ ควรตั้งไว้เต็มจำนวน • ส่วนต้นเงินให้พิจารณาตามสภาพลูกหนี้ และหลักทรัพย์ค้ำประกัน • Dr. หนี้สงสัยจะสูญ – ลูกหนี้ระหว่างดำเนินคดี xx • Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ – ลูกหนี้ระหว่างดำเนินคดี xx จ่ายค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดี • ค่าฤชาธรรมเนียม • ค่าทนายความDr. เงินทดรองดำเนินคดี xx ฯลฯCr. เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

  18. ลูกหนี้ตามคำพิพากษา • 1. โอนเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา เมื่อศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุด • หรือมีสัญญาประนีประนอมยอมความ • 2. จำนวนเงินให้บันทึกตามจำนวนที่ศาลสั่ง - ศาลสั่งให้ชดใช้น้อยกว่าหนี้ตามมูลฟ้อง หนี้ที่เหลือให้ดำเนินการขอตัดเป็นหนี้สูญ - คำพิพากษาไม่ระบุให้ชดใช้ค่าฤชาธรรมเนียม หรือ ให้น้อยกว่า ผลต่างบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดี 3. ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้ตามคำพิพากษาทั้งจำนวน และคงไว้จนกว่าจะได้รับชำระคืน

  19. การประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญการประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1. พิจารณาลูกหนี้แต่ละราย 2. ประมาณเป็นร้อยละของหนี้ ณ วันสิ้นปีบัญชี 3. จำแนกตามอายุของหนี้ ณ วันสิ้นปีบัญชี แล้วประมาณเป็นร้อยละตามกลุ่มลูกหนี้

  20. พิจารณาลูกหนี้แต่ละรายพิจารณาลูกหนี้แต่ละราย ลูกหนี้เงินกู้ นาย A 10,000.- บาท นาย B 20,000.- บาท นาย C 30,000.- บาท คาดว่าจะเรียกเก็บหนี้ นาย A ไม่ได้ ประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันสิ้นปี = 10,000.- บาท (ลูกหนี้นาย A)

  21. ประมาณเป็นร้อยละของหนี้ ณ วันสิ้นปีบัญชี ลูกหนี้เงินกู้นาย A 10,000.- บาท นาย B 20,000.- บาท นาย C30,000.- บาท 60,000.- บาท คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ได้ 20% ค่าเผื่อฯ = 60,000 x20% = 12,000.- บาท

  22. แยกอายุหนี้ แล้วประมาณเป็นร้อยละตามกลุ่มลูกหนี้ ลูกหนี้การค้านาย D 10,000.-บาท อายุหนี้เกิน 2 ปี นาย E 10,000.-บาท อายุหนี้เกิน 1 ปี นาย F 10,000.-บาท อายุหนี้เกิน 6 เดือน ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ นาย D 100 %= 10,000.- บาท นาย E 15 % = 1,500.- บาท นาย F 10 % =1,000.- บาท 12,500.- บาท

  23. อาจใช้วิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีรวมกัน ลูกหนี้การค้านาย D 10,000.- บาท นาย E 10,000.- บาท นาย F 10,000.- บาท คาดว่าจะเรียกเก็บหนี้ นาย D ไม่ได้ ส่วนนาย E และนาย F คาดว่าเรียกเก็บไม่ได้ 20 % ค่าเผื่อฯ = 10,000 + ( 20,000 x 20 % ) = 14,000.- บาท

  24. แนวปฏิบัติการพิจารณาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแนวปฏิบัติการพิจารณาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้เงินกู้ แน่ชัดว่าไม่อาจเรียกให้ชำระได้จากไม่มีหลักทรัพย์ใดค้ำประกัน ลูกหนี้ ทายาท ผู้ค้ำประกัน *** ให้ตั้งค่าเผื่อสำหรับหนี้รายนั้นเต็มจำนวน *** ดอกเบี้ย และค่าปรับค้างรับ - ค้าง 1 – 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 - ค้างเกิน 5 ปี เต็มจำนวน

  25. ลูกหนี้การค้า - อายุหนี้ที่ค้างชำระเกินกว่า 60 วัน แต่ไม่เกิน 6 เดือน อย่างน้อยร้อยละ 5 - เกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี อย่างน้อยร้อยละ 10 - เกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 2 ปี อย่างน้อยร้อยละ 15 - เกินกว่า 2 ปี เต็มจำนวน ลูกหนี้อื่นๆ พิจารณาสภาพของลูกหนี้ และหลักประกัน ตั้งค่าเผื่อให้เพียงพอตามหลักความระมัดระวัง

  26. ค่าเผื่อฯ ที่คำนวณได้ > บัญชี ผลต่าง = ค่าใช้จ่ายของปีนั้น ๆ ค่าเผื่อฯ ที่คำนวณได้ < บัญชี ผลต่าง = ค่าเผื่อฯ เกินต้องการ ปรับลดยอดค่าใช้จ่าย

  27. ผลต่าง คำนวณได้ > บัญชี = 5,000.- บาท ค่าเผื่อฯ ตามบัญชี = 15,000.- บาท คำนวณได้ = 20,000.- บาท เป็นค่าใช้จ่ายของปีนั้น Dr. หนี้สงสัยจะสูญ – ลูกหนี้เงินกู้ 5,000.- Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - ลูกหนี้เงินกู้ 5,000.-

  28. ผลต่าง คำนวณได้ < บัญชี = 7,000.- บาท ค่าเผื่อฯ ตามบัญชี = 27,000.- บาท คำนวณได้ = 20,000.- บาท ปรับลดยอดค่าใช้จ่าย Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ – ลูกหนี้เงินกู้ 7,000.- Cr. หนี้สงสัยจะสูญ - ลูกหนี้เงินกู้ 7,000.-

  29. ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้เงินกู้ และการเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ พ.ศ. 2544

  30. ถือใช้กับสหกรณ์ออมทรัพย์และ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ที่เรียกเก็บเงินงวดชำระหนี้จากสมาชิกโดยการหักจาก เงินได้ ณ ที่จ่าย

  31. ลูกหนี้เงินกู้ หมายถึง สมาชิก หรือสหกรณ์อื่นที่กู้ยืมเงินจากสหกรณ์โดยมีหนังสือสัญญากู้ยืมเงินเป็นหลักฐานรวมถึงลูกหนี้อื่นอันมีมูลหนี้ที่เกิดจากการให้เงินกู้ นั้น ได้แก่ - ลูกหนี้เงินกู้ที่ขาดสมาชิกภาพแล้ว แต่ได้รับการผ่อนผันให้ชำระหนี้เป็นงวด หรืออยู่ระหว่างดำเนินคดี หรือรอเรียกเก็บจากเงินบำเหน็จหรือเงินอื่นใดเพื่อชำระหนี้ - ลูกหนี้ที่ส่งชำระหนี้เป็นงวดตามที่ได้มีข้อตกลงประนอมหนี้ - ลูกหนี้ที่ได้ชำระหนี้แทนสมาชิกผู้กู้ในฐานะผู้ค้ำประกันและอื่นๆ ฯ ล ฯ

  32. ระยะเวลาที่ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ระยะเวลาที่ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ การขอผ่อนเวลาชำระหนี้ การขอเปลี่ยนแปลงเงินงวดชำระหนี้ การดำเนินการตามกฎหมาย พฤติการณ์ที่ไม่สามารถเรียกให้ชำระหนี้ได้ การประมาณค่าเผื่อลูกหนี้เงินกู้ - สหกรณ์ออมทรัพย์ *** เป็นไปตามการจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้เงินกู้ *** หลักเกณฑ์

  33. การจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้เงินกู้การจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้เงินกู้ 1. ลูกหนี้ปกติ 2. ลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน ลูกหนี้ ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ NPL 3. ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย 4. ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ 5. ลูกหนี้จัดชั้นสูญ

  34. ลูกหนี้ปกติ ลูกหนี้เงินกู้ที่เป็นไปตามเกณฑ์ข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้ 1. ลูกหนี้ที่ชำระหนี้ได้ตามกำหนด 2. ลูกหนี้ที่ค้างชำระต้นเงิน และ/หรือ ดอกเบี้ยเป็นระยะเวลา ติดต่อกัน ไม่เกิน 3 เดือน นับแต่วันที่ครบกำหนดชำระ และไม่มีพฤติการณ์ที่แสดงว่าจะไม่สามารถชำระหนี้ได้ 3. ลูกหนี้ที่ได้ขอผ่อนเวลาการชำระหนี้ และสามารถชำระหนี้ได้ ตามกำหนดเวลาที่ขอผ่อนผัน 4. ลูกหนี้ซึ่งสหกรณ์ได้ฟ้องดำเนินคดีแต่มีการชำระหนี้ได้ตามปกติ

  35. ลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐานลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน ลูกหนี้เงินกู้ที่เป็นไปตามเกณฑ์ข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้ 1. ลูกหนี้ที่ค้างชำระต้นเงิน และ/หรือ ดอกเบี้ยเป็นระยะเวลา ติดต่อกัน เกินกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ครบกำหนดชำระ 2. ลูกหนี้ที่ได้รับการผ่อนเวลาการชำระหนี้ไว้ แต่ผิดนัด ไม่ชำระหนี้ตามกำหนดเวลาที่ตกลงกัน

  36. ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย ลูกหนี้เงินกู้ที่เป็นไปตามเกณฑ์ข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้ 1. ลูกหนี้ที่ค้างชำระต้นเงิน และ/หรือดอกเบี้ยเป็นระยะเวลา ติดต่อกันเกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 12 เดือน นับแต่วันที่ครบกำหนดชำระ 2. ลูกหนี้ซึ่งสหกรณ์ฟ้องดำเนินคดีที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้ ตามปกติ

  37. ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ ลูกหนี้เงินกู้ที่เป็นไปตามเกณฑ์ข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้ 1. ลูกหนี้ที่ค้างชำระต้นเงิน และ/หรือดอกเบี้ยเป็นระยะเวลา ติดต่อกันเกินกว่า 12 เดือนนับแต่วันที่ครบกำหนดชำระ 2. ลูกหนี้ซึ่งตามพฤติการณ์ไม่สามารถเรียกให้ชำระหนี้ได้ 3. ลูกหนี้ซึ่งได้ฟ้องดำเนินคดีที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้และมีการบังคับคดี โดยอายัดทรัพย์หรือยึดทรัพย์แล้ว หรือลูกหนี้ที่ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้อง และสหกรณ์ยื่นคำขอเฉลี่ยทรัพย์ 4. ลูกหนี้ที่สหกรณ์ฟ้องในคดีล้มละลาย หรือหนี้ที่สหกรณ์ยื่นคำขอ รับชำระหนี้ในคดีที่ลูกหนี้ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้องในคดีล้มละลาย

  38. ลูกหนี้จัดชั้นสูญ ลูกหนี้เงินกู้ที่เป็นไปตามเกณฑ์ข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้ 1. ลูกหนี้ถึงแก่ความตาย เป็นคนสาบสูญ หรือมีหลักฐานว่า หายสาบสูญไปและไม่มีทรัพย์สินใดๆ จะชำระหนี้ได้ 2. ลูกหนี้ที่มีหนี้ของเจ้าหนี้รายอื่นที่มีบุริมสิทธิ์เหนือทรัพย์สินทั้งหมด ของลูกหนี้อยู่ในลำดับก่อนสหกรณ์เป็นจำนวนมากกว่าทรัพย์สิน ของลูกหนี้ 3. ลูกหนี้ที่สหกรณ์ฟ้อง หรือยื่นคำขอเฉลี่ยหนี้ในคดีที่ลูกหนี้ ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้องล้มละลาย และกรณีนั้นๆ ได้มีการบังคับคดี หรือคำสั่งของศาลแล้ว แต่ลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินใดๆ จะชำระหนี้ได้

  39. 4. ลูกหนี้ที่สหกรณ์ฟ้องในคดีล้มละลาย หรือสหกรณ์ยื่นคำขอรับชำระหนี้ ในคดีที่ลูกหนี้ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้องในคดีล้มละลายและกรณีนั้นๆ ได้มีการประนอมหนี้ โดยศาลมีคำสั่งเห็นชอบหรือลูกหนี้ถูกศาลพิพากษา ให้เป็นบุคคลล้มละลาย และมีการแบ่งทรัพย์สินของลูกหนี้ครั้งแรกแล้ว 5. ลูกหนี้เงินกู้ที่ไม่สามารถชำระต้นเงิน และ/หรือ ดอกเบี้ยได้โดยสิ้นเชิง ให้สหกรณ์ระงับการรับรู้รายได้ดอกเบี้ยเงินให้กู้ลูกหนี้ NPL ตามเกณฑ์คงค้าง โดยให้รับรู้รายได้ตามเกณฑ์เงินสด

  40. การนับเวลาผิดนัดชำระหนี้การนับเวลาผิดนัดชำระหนี้ การนับเวลาผิดนัดชำระหนี้สำหรับลูกหนี้เงินกู้ทุกชั้นคุณภาพให้หมายถึงลูกหนี้จะต้องไม่ค้างชำระเงินอย่างใดอย่างหนึ่งตามลำดับติดต่อกันดังนี้ (หน้า 10) 1. ดอกเบี้ยค้างชำระ 2. ดอกเบี้ยและต้นเงินที่ถึงกำหนดชำระ 3. ต้นเงินที่ถึงกำหนดชำระ การนับระยะเวลาให้นับจากวันที่ครบกำหนดชำระเงินอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ1 ถึง ข้อ3 จนถึงปัจจุบันหรือ ณ วันที่มีการจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้

  41. มูลค่าหุ้นของผู้กู้ ร้อยละ 100 นำต้นเงิน + ดอกเบี้ยค้างรับที่ได้รับชำระหลังวันสิ้นปีบัญชีแต่ก่อนวันที่ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นมาหักออกได้ หลักประกันที่เป็นสิทธิ ร้อยละ 100 หลักประกันอื่น ไม่เกินร้อยละ 50 ของมูลค่าที่จำนำ จำนอง การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ นำมูลค่าหุ้น + หลักประกันที่ไม่มีภาระผูกพันมาหักออกได้

  42. ลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน ร้อยละ 20 ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย ร้อยละ 50 ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ/จัดชั้นสูญ ร้อยละ 100

  43. การจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้ที่มีการชำระหลังสิ้นปีบัญชีการจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้ที่มีการชำระหลังสิ้นปีบัญชี ไม่เป็นเหตุให้มีการเปลี่ยนแปลง การจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้ ณ วันสิ้นปี เว้นแต่ ปรากฏแน่ชัดว่าลูกหนี้ชำระหนี้ได้สิ้นเชิง

  44. ตัวอย่าง ณ วันที่ 31 ธ.ค. 54 นายไข่ เป็นหนี้เงินกู้สามัญ 100,000 บาท ดอกเบี้ยค้าง 1,200 บาท ค้างชำระเงินงวด 4 เดือน = ลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน ต้องตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 20 % แต่ในวันที่ 25 ม.ค. 55 นายไข่นำเงินมาชำระทั้งหมด • ณ วันที่ 31 ธ.ค. 54 นายไข่เป็นลูกหนี้ชั้นปกติ ไม่ต้องตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

  45. ลูกหนี้ NPL การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในทางบัญชี ตั้งมากกว่าที่กำหนดได้ ขึ้นอยู่กับมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ แต่ละปี การเปิดเผยข้อมูล • ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน • แสดงลูกหนี้ NPL ต่างหากจากลูกหนี้ปกติ • แสดงรายการเป็นลูกหนี้ระยะสั้นทั้งจำนวน

  46. “สหกรณ์ระงับการรับรู้รายได้ที่เกิดจากดอกเบี้ยเงินให้กู้ ของลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง จำนวน................ บาท ซึ่งหากสหกรณ์รับรู้ดอกเบี้ยเงินให้กู้ของลูกหนี้ดังกล่าวแล้ว จะทำให้สหกรณ์มีกำไรสุทธิประจำปีเป็นจำนวน ................ บาท” การเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

  47. ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการตัดจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร พ.ศ. 2546

  48. การตัดจำหน่ายหนี้สูญ หนี้ที่จะตัดจำหน่ายออกจากบัญชีลูกหนี้เป็นหนี้สูญ ต้องมีลักษณะตามที่กำหนดในระเบียบ นทส. และต้องดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่ระบุไว้ในระเบียบ นทส.

  49. ลักษณะหนี้ที่จะตัดเป็นหนี้สูญลักษณะหนี้ที่จะตัดเป็นหนี้สูญ 1. เป็นหนี้ที่เกิดจาก หรือเนื่องจากการประกอบกิจการ 2. มีหลักฐานโดยชัดแจ้ง สามารถฟ้องลูกหนี้ได้ 3. มีหลักฐานติดตามทวงถามให้ชำระหนี้ตามควรแก่กรณี หรือมีการฟ้องคดีแล้วแต่ไม่ได้รับชำระหนี้ โดยปรากฏว่า + ลูกหนี้ถึงแก่ความตาย หรือสาบสูญ + ลูกหนี้เลิกกิจการ และมีหนี้ของเจ้าหนี้รายอื่น ที่มีบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้

  50. + ได้ฟ้องลูกหนี้ในคดีแพ่ง หรือยื่นคำขอเฉลี่ยหนี้ในคดีที่ เจ้าหนี้รายอื่นฟ้อง แต่ลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินใดๆ ชำระหนี้ + ฟ้องลูกหนี้ในคดีล้มละลาย หรือยื่นคำขอรับชำระหนี้ ในคดีที่เจ้าหนี้รายอื่นฟ้อง และได้มีการประนอมหนี้ โดยศาลมีคำสั่งเห็นชอบ + ลูกหนี้ถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลาย 4. หนี้จากการทุจริต ความบกพร่องของกรรมการ/เจ้าหน้าที่/ บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งมีการติดตามทวงถามถึงที่สุดแล้ว หากฟ้องไม่คุ้ม หรือฟ้องแล้วแต่ไม่ได้รับชำระหนี้

More Related