1 / 9

การศึกษาข้อมูลหลุมเจาะและข้อมูลน้ำบาดาล บริเวณชายแดน ไทย-มาเลเซีย

การศึกษาข้อมูลหลุมเจาะและข้อมูลน้ำบาดาล บริเวณชายแดน ไทย-มาเลเซีย. ที่มา : ข้อมูลอ้างอิงจากกรมทรัพยากรที่ดิน. ตารางแสดงข้อมูลหลุมเจาะ ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล. ที่มา : ข้อมูลหลุมเจาะอ้างอิงจาก www.dpt.go.th/soil/. ตารางแสดงข้อมูลหลุมเจาะ ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล.

Télécharger la présentation

การศึกษาข้อมูลหลุมเจาะและข้อมูลน้ำบาดาล บริเวณชายแดน ไทย-มาเลเซีย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาข้อมูลหลุมเจาะและข้อมูลน้ำบาดาล บริเวณชายแดน ไทย-มาเลเซีย

  2. ที่มา:ข้อมูลอ้างอิงจากกรมทรัพยากรที่ดินที่มา:ข้อมูลอ้างอิงจากกรมทรัพยากรที่ดิน

  3. ตารางแสดงข้อมูลหลุมเจาะ ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล ที่มา: ข้อมูลหลุมเจาะอ้างอิงจากwww.dpt.go.th/soil/

  4. ตารางแสดงข้อมูลหลุมเจาะ ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล ที่มา:ข้อมูลหลุมเจาะอ้างอิงจากwww.dpt.go.th/soil/

  5. การศึกษาเรื่องการใช้ข้อมูลดินในการปรับปรุงสาธารณูประโภคการศึกษาเรื่องการใช้ข้อมูลดินในการปรับปรุงสาธารณูประโภค จากการศึกษาระบบสาธารณูประโภค ณ บริเวณชายแดนไทย-มาเลเซียมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะทำการปรับปรุงระบบสาธารณูประโภคให้มีประสิทธิ์ภาพดีขึ้น ซึ่งมุ้งเน้นศึกษาถึงระบบเส้นทางคมนาคมระหว่างชายแดนไทยไปมาเลเซีย โดยนำข้อมูลหลุมเจาะจากเว็บไซด์ www.dpt.go.th/soil/มาใช้วิเคราะห์ดิน ณ บริเวณที่จะทำการก่อสร้างทางว่ามีความเหมาะสมเพียงใดในการก่อสร้างและจะต่องออกแบบโครงสร้างถนนอย่างไร ซึ่งในพื้นที่ที่จะศึกษานั้นไม่มีข้อมูลหลุมเจาะฉะนั้นจึงใช้ข้อมูลหลุมเจาะตำบลปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูลซึ่งเป็นพื้นที่ใกล้เคียงและคาดว่าน่าจะมีข้อมูลดิน ณ บริเวณ ดังกล่าวเป็นดินที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับบริเวณชายแดนไทยมาเลเซียซึ่งพื้นที่ตั้งอยู่ ละติจูด 6 องศา 51 ลิปดา 37.58 ฟิลิปดา ลองติจูด 99 องศา 43 ลิปดา 18.44 ฟิลิปดา มีพื้นที่โดยรอบ 32188.75 ไร่ และตั้งอยู่ห่างจากบริเวณชายแดนไทยมาเลเซีย อ.วังประจัน ประมาณ 35 กม. โดยมีข้อมูลหลุมเจาะดังนี้คือในระยะที่มีความลึกไม่มาก 1-5 เมตร จะเป็นชั้นดินปนทรายโดยวิเคราะห์ได้จาการนำตัวอย่างดิน ณ บริเวณนี้ไปร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 200 และเบอร์ 4 จากนั้นเมื่อขุดลึกลงไป 6 เมตรเป็นต้นไป จะพบว่าส่วนใหญ่เป็นดินเหนียวซึ่งวิเคราะห์ได้จาค่า PI และค่า LL และจาการศึกษาข้อมูลหลุมเจาะบริเวณนี้ในหลุมเจาะที่สองมีความลึก 16 เมตรยังเป็นข้อมูลที่มีความผิดพลาดอยู่และเมื่อนำข้อมูลหลุมเจาะที่ตำบล ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล มาวิเคราะห์ถ้าจะสร้างถนนพบว่าบริเวณนี่สามารถสร้างถนนได้

  6. ตารางแสดงข้อมูลน้ำบาดาลตารางแสดงข้อมูลน้ำบาดาล ที่มา:ข้อมลูอ้างอิงจากwww.dgr.go.th

  7. ตารางแสดงข้อมูลน้ำบาดาลตารางแสดงข้อมูลน้ำบาดาล ที่มา:ข้อมลูอ้างอิงจากwww.dgr.go.th

  8. จากการศึกษาข้อมูลน้ำบาดาล ที่บริเวณ จังหวัด สตูล อำเภอ ละงู ซึ่งได้ทำการศึกษาทั้งหมด 2 ตำบล รวม 19 หลุมเจาะ ความลึกของระดับน้ำบาดาลโดยประมาณแล้วอยู่ที่ระดับ 35-45 เมตรซึ่งบริเวณนี้ไม่มีแหล่งน้ำผิวดินที่เพียงพอต่อการสร้างถนนและอุปโภคบริโภคสำหรับคนงานก่อสร้างดังนั้นเราจึงต้องเจาะดินลึกลงไปประมาณ 35- 45 เมตรเพื่อดูดน้ำบาดาลมาใช้ในการสร้างถนนและอุปโภคบริโภคจึงสามารถจะทำถนนเส้นนี้ได้

More Related