1 / 21

พุทธศาสนิกชนตัวอย่างในปัจจุบัน

พุทธศาสนิกชนตัวอย่างในปัจจุบัน. นาย ปรมินทร์ รอดเนียม ม.4/4 เลขที่ 5 นาย มกรพันธุ์ มกรมณี ม.4/4 เลขที่ 6 น.ส. ชญานิศ รังสีเลิศ ม.4/4 เลขที่ 28 น.ส. ณัฐ หทัย ศรีอิสรานุสรณ์ ม.4/4 เลขที่ 29 น.ส. นพเก้า บุญพา ม.4/4 เลขที่ 32

ray-dorsey
Télécharger la présentation

พุทธศาสนิกชนตัวอย่างในปัจจุบัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พุทธศาสนิกชนตัวอย่างในปัจจุบัน นาย ปรมินทร์ รอดเนียม ม.4/4 เลขที่ 5 นาย มกรพันธุ์ มกรมณี ม.4/4 เลขที่ 6 น.ส. ชญานิศ รังสีเลิศ ม.4/4 เลขที่ 28 น.ส. ณัฐหทัย ศรีอิสรานุสรณ์ ม.4/4 เลขที่ 29 น.ส. นพเก้า บุญพา ม.4/4 เลขที่ 32 น.ส. ปวพร ศุ้มโภคา ม.4/4 เลขที่ 33 น.ส. วิศรุตา บุญปาลิต ม.4/4 เลขที่ 40

  2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่5) พระราชประวัติ พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ประสูติเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2396 เถลิงถวัลยราชสมบัติ เมื่อ วันที่ 11 กันยายน พ.ศ.2411 สวรรคต เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 ทรงมีพระชนายุได้ 57 พรรษา รวมเวลาครองราชย์ 42 ปี

  3. พระราชกรณียกิจ -ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิกประเพณีหมอบคลาน -ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เลิกทาส ตั้งโรงเรียนหลวงสอนทั้งภาษาไทยและอังกฤษ -ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีการสอบชิงทุนหลวงไปศึกษาในต่างประเทศ -ทรงปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และแบ่งหน้าที่ราชการให้เป็นสัดส่วน -ทรงรวมหัวเมืองหลายเมืองเข้าเป็นมณฑล -ทรงให้จัดการในเรื่องการสุขาภิบาล การบำรุงท้องที่ การโทรเลข การไฟฟ้า -ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกระทรวงสำคัญๆ และกิจการด้านศาลยุติธรรม -ทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดการเรื่องตำรวจภูธร ใช้กฎหมายเกณฑ์ทหารเมื่อชาติต้องการ

  4. การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา 1) การชำระและพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นอักษรไทย -เป็นการดำเนินการตามขัตติยะประเพณีที่ปฏิบัติกันต่อๆมาของพระมหากษัตริย์ -ทรงปรารภว่าพระไตรปิฎกเป็นคัมภีร์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ส่งเสริมให้ธรรมะแพร่หลายเป็นกุศลอันยิ่งใหญ่ -การพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นอักษรไทย จะง่ายต่อการค้นคว้าและการเก็บรักษา 2) การสร้างวัดใหม่ขึ้นหลายวัดและทรงปฏิสังขรณ์วัดมหาธาตุ 3) การส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางในการศึกษา 4) ด้านการศึกษาของพระสงฆ์ โปรดเกล้าให้จัดตั้งโรงเรียนสอนพระปริยัติธรรมขึ้นตามวัดต่างๆ สถาบันการศึกษาชั้นสูงสองแห่งจนกลายมาเป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ในปัจจุบันคือ -มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย -มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย -ทรงตราพระราชบัญญัติเพื่อเป็นแนวในการบริหารคณะสงฆ์

  5. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างคุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง 1) ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนา การส่งเสริมการศึกษาของพระสงฆ์ โดยการสร้างมหาวิทยาลัยสงฆ์ขึ้น 2 แห่ง 2) ทรงดำรงตนอยู่ในพุทธธรรม โดยนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางในการปกครอง จนได้รับขนานนามว่า “พระปิยมหาราช”

  6. เมื่อพระชันษาได้ 10 ปี พระราชบิดาโปรดเกล้าฯให้ผนวชเป็นสามเณรเพื่อศึกษาวิทยาการและศิลปะศาสตร์จนมีพระชันษา 16 ปี จึงลาผนวช ทรงขึ้นครองราชย์เป็นรัชกาลที่4 แห่งราชวงค์ปราสาททอง ขณะมีพระชนมายุได้ 25 พรรษากล่าวกันว่า ในรัชกาลของพระองค์ บ้านเมืองมีความเจริญในด้านศิลปะวิทยาและการศึกษา สมเด็จพระนารายณ์มหาราชย์ เสด็จสวรรคต ณ วันอาทิตย์ เดือน 8 ขึ้น 11 ค่ำ ปีมะโรง จุลศักราชที่ 1050 ตรงกับวันที่ 11 กรกฎคม พ.ศ. 2231 เป็นรัชกาลที่ 32 พระชันษา 56 ปี

  7. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างคุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง 1. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงเป็นแบบอย่างในการใช้ธรรมะนำการเมืองไทย ในสมัยนั้นมีการล่าอาณานิคม ท่านสามารถนำหลักธรรมะมาใช้ในการบริหารบ้านเมืองให้พ้นจากการล่าอาณานิคมของประเทศตะวันตกได้อย่างสง่างาม จึงทรงรักษาไว้ได้ทั้งชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ 2. ทรงมีพระทัยหนักแน่นในการนับถือพระพุทธศาสนา เห็นได้จากพระองค์ทรงปฏิเสธการเข้ารีตศาสนาคริสต์

  8. อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ได้ผลิตงานวิชาการออกมามากมาย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ งานที่ทำให้อาจารย์สุชีพ โด่งดังมากที่สุดได้แก่ พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน ซึ่งริเริ่มเขียนตั้งแต่ยังเป็นสามเณรอายุ 18 ปี อีกเล่มหนึ่งที่กล่าวขวัญถึงมากได้แก่คุณลักษณะพิเศษแห่งพระพุทธศาสนา อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ นับเป็นนักวิชาการที่มีพรสวรรค์ในการประพันธ์นวนิยายอิงธรรมะมาก ท่านเขียนขึ้นมาหลายเล่ม แต่ละเล่มเป็นที่สนใจของบรรดาพุทธศาสนิกชนอย่างกว้างขวาง ชนิดที่ไม่เคยเป็นมาก่อน คนอ่านจำนวนมากไปขออ่านนวนิยายอิงธรรมะของท่านถึงแท่นพิมพ์ของมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยก็มี

  9. ผลงานขณะเป็นพระภิกษุ ผลงานขณะเป็นพระภิกษุ ผลงานทางพระพุทธศาสนาที่โดดเด่นของ สุชีโว ภิกขุ คือ ผลงานด้านวรรณกรรม ซึ่งมีวรรณกรรรมประเภทร้อยกรอง สุภาษิต ความเรียง ชุมชนบทความสั้น ชุมนุมบันทึกเบ็ดเตล็ด ปาฐกถาทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ที่สำคัญท่านเป็นคนแรกที่ริเริ่มการแต่งจินตนิยายอิงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา โดยอาศัยหลักฐานจากคัมภีร์พระไตรปิฏกฝ่ายเถรวาทล้วนๆ ทำให้การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในรูปแบบจินตนิยายอิงหลักธรรมได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา นอกจากผลงานด้านวรรณกรรมแล้ว ผลงานที่โดดเด่นอีกประการหนึ่งของสุชีโว ภิกขุคือ 1. การร่วมกันก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกชนสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล) ขึ้น ณ ประเทศศรีลังกา เมื่อ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2493 2. ท่านยังเป็นพระภิกษุไทยรูปแรกที่สามารถแสดงพระธรรมเทศนาเป็นภาษาอังกฤษแก่ชาวต่างประเทศ

  10. ผลงานขณะเป็นฆราวาส สุชีโว ภิกขุ หลังจากลาสิกขา (สึก) แล้วใช้ชื่อว่า สุชีพ ปุญญานุภาพ ได้ปฏิบัติงานทั้งในด้านราชการ รัฐวิสาหกิจ และงานด้านอื่นๆ อีกมากมาย เช่น 1. เป็นเลขานุการรัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรม (พ.ศ.2495-2501) 2. เป็นรองผู้อำนวยการ อ.ส.ท.ฝ่ายการส่งเสริม (พ.ศ.2519-2520) 3. เป็นอาจารย์พิเศษวิชาศาสนาเปรียบเทียบ ในระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยรามคำแหง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 4. เป็นอนุกรรมการเอกลักษณ์แห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี 5. เป็นที่ปรึกษาองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล. :2523 )

  11. ด้วยผลงานด้านการศึกษาดังกล่าวข้างต้น อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ จึงได้รับการยกย่องเกรียติคุณให้เป็น นักปราชญ์ทางปรัชญาศาสนา และได้รับมอบปริญญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาต่างๆ จากมหาวิทยาลัยหลายแห่ง เช่น 1. สาขาวิชาปรัชญา จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2539 2. ศาสนศาสตร์ดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.2542 เป็นต้น เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งในและต่างประเทศ คือ 1. ตริตาภรณ์มงกุฏไทย (ต.ม.) 5 ธันวาคม พ.ศ.2495 2. ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.) 5 ธันวาคม พ.ศ.2496 3. ทวิติยาภรณ์มงกุฏไทย (ท.ม.) 5 ธันวาคม พ.ศ.2497 4. สิธุ (พม่า) 19 มกราคม พ.ศ2499 5. ล้านช้างร่มขาวชั้น 3 (ลาว) 2 พฤษภาคม พ.ศ.2499

  12. คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตหลายประการ พอสรุปได้ดังนี้ 1. เป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน 2. เป็นผู้มีความตั้งใจจริง 3. เป็นผู้มีความขยันหมั่นเพียรในการศึกษาเล่าเรียน 4. เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย

  13. อนาคาริก ธรรมปาละ ผลงาน เป็นผู้จุดประกายการศึกษาพระพุทธศาสนาในอินเดีย ทำให้ชาวอินเดีย ซึ่งแทบจะลืมเลือนพระพุทธศาสนา จนหมดสิ้น แล้ว หันกลับมาแนวทางแห่งอริยมรรคแห่งพระพุทธองค์อีกครั้ง ท่านได้สร้างอนุสรณ์สถาน ปูชนียสถานเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาไว้มากมาย ตามสถานที่ต่างๆ ที่เป็นที่ระลึกถึง พระพุทธองค์ เช่น วัดมูลคันธกุฎวิหาร ใกล้ๆกับสถานที่แสดงปฐมเทศนา ที่สารนาถ

  14. ท่านได้เป็นผู้จุดประกายริเริ่มให้ชาวพุทธ และชาวอินเดีย หันมาเอาใจใส่และฟื้นฟูพุทธสถาน ที่สำคัญของพระพุทธองค์ โดยเฉพาะพุทธคยา แม้ในสมัยของท่าน อาจจะยังไม่ทำให้พุทธคยา คืนสู่กรรมสิทธิ์ของชาวพุทธ และอยู่ในการดูแลคุ้มครอง ของชาวพุทธได้ แต่ต่อมา การกระทำของท่านก็เป็นกระแสผลักดันสังคม ชาวอินเดียหลายฝ่าย นักปราชญ์หลายท่าน ก็ได้แสดงความเห็นควรว่าพุทธคยาเป็นสิทธิ์ของชาวพุทธอย่างแน่นอน ต่อมา ในเดือนเมษายน ปี 2499 รัฐบาล แห่งรัฐพิหาร ได้ผ่านพระราชบัญญัติวิหารพุทธคยา ซึ่งให้ส่วนหนึ่ง อยู่ในการดูแลของชาวพุทธ โดยมีกรรมการชาวพุทธ 4 ท่าน ชาวฮินดู 4 ท่าน โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดคยาเป็นประธาน

  15. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างคุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง 1. การมุ่งมั่นทำงานเพื่อพระพุทธศาสนาและมนุษยชาติ จากประวัติจะเห็นได้ว่า ท่านอนาคาริก ธรรมปาละ เป็นผู้ที่เริ่มต้นที่สำคัญในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนายุคใหม่ และท่านได้พยามยามทำงานเพื่อนำพระพุทธศาสนามาสู่อินเดียจนสำเร็จ รวมตลอดถึงเป็นผู้ร่วมเรียกร้องให้พุทธคยา ได้กลับมาอยู่ในความดูแลของชาวพุทธจนเป็นผลสำเร็จ 2. การยึดมั่นนับถือพระพุทธศาสนา ตลอดชีวิตของท่านได้อุทิศชีวิตเพื่อพระพุทธศาสนา โดยทั้งการเผยแผ่ การก่อตั้งสถาบันทางพุทธศาสนา สถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนา

  16. ดร.เอ็มเบดการ์ คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง -มีความมุมานะพยายามในการศึกษาเล่าเรียน แม้จะประสบความลำบาก ความเดือดร้อนมากเพียงใด ก็ก้มหน้ามุมานะต่อไปโดยไม่หยุดยั้งจนกระทั่งจบปริญญาเอก นี่คือความสำเร็จของเด็กยากจนที่เกิดในวรรณะศูทรที่ได้มาด้วยความมานะพยายาม -มีความอดทนเป็นเลิศ เมื่อครั้งศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย ดร.เอ็มเบดการ์ ได้เผชิญกับปัญหาต่างๆถูกข่มเหงจากนักศึกษาต่างวรรณะ บางคนได้ข่มเหงรังแก ทุบตีอย่างทารุณ แต่ท่านก็ได้กัดฟันต่อสู้ต่อเหตุการณ์เหล่านั้นด้วยความอดทน และได้นำเหตุการณ์เหล่านั้นมาเป็นกำลังใจให้มีความมุมานะในการศึกษาเล่าเรียนยิ่งขึ้น

  17. -มีสติปัญญาดี จนสามารถเรียนจนจบปริญญาเอก -ยึดมั่นในพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง ดร.เอ็มเบดการ์ ได้นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เป็นหลักในการปฏิวัติระบบชนชั้นวรรณะของสังคมอินเดีย ดังที่ท่านประกาศไว้ตอนหนึ่งว่า "ระบบวรรณะนั้นเป็นความบกพร่อง ใครเกิดมาในวรรณะเลวก็ต้องเลวอยู่ชั่วชาติ จะทำอย่างไรก็ไม่มีทางดีขึ้นมาได้ ข้อนี้จึงเป็นเรื่องฟังไม่ขึ้นอีกจ่อไป...กฎแห่งกรรมของพระพุทธเจ้าไม่มีใครลบล้างได้ พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญความเพียร ชัยชนะของแต่ละคนขึ้นอยู่กับความเพียร ยาจกก็สามารถยกตนขึ้นเป็นมหาเศรษฐีได้ เพราะความเพียร ด้วยที่ท่านมีน้ำใจที่หนักแน่น มีอุดมคติสูง กล้าหาญ เสียสละ จึงได้รับสมญานามว่า มนุษย์กระดูกเหล็ก ฝีปากกล้า และอภิชาตบุตรของชาวหริจันทร์(ชาวศูทร)

  18. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างคุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง

  19. ผลงาน

More Related