1 / 117

การเขียนข้อพิจารณา ของฝ่ายอำนวยการ

การเขียนข้อพิจารณา ของฝ่ายอำนวยการ. โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิ กองบัญชาการกองทัพไทย. อะไรเอ่ย?. ตอนที่ 1 หลักการ. การเขียน. เป็นวิธีการสื่อความคิดเห็นไปยัง ผบช. ผบ.หน่วยรอง ฝอ.อื่น ๆ โดยใช้ คำสั่ง ข้อเสนอ ข้อพิจารณา รายงาน เอกสาร. หลักการมูลฐานในการเขียน. 1. มีเอกภาพ

ray
Télécharger la présentation

การเขียนข้อพิจารณา ของฝ่ายอำนวยการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการการเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ โดย พลตรี เอนก แสงสุกผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย

  2. อะไรเอ่ย?

  3. ตอนที่ 1หลักการ

  4. การเขียน • เป็นวิธีการสื่อความคิดเห็นไปยังผบช. ผบ.หน่วยรอง ฝอ.อื่น ๆ • โดยใช้ คำสั่ง ข้อเสนอ ข้อพิจารณา รายงาน เอกสาร

  5. หลักการมูลฐานในการเขียนหลักการมูลฐานในการเขียน 1. มีเอกภาพ 2. ถูกต้อง 3. ชัดเจน สั้น กะทัดรัด 4. ใช้คำง่าย ๆ ลดคำฟุ่มเฟือย 5. มีความต่อเนื่อง 6. ตรงประเด็น 7. สมบูรณ์

  6. การบันทึก • การเขียนข้อราชการเสนอ ผบช. • การสั่งการของ ผบช. • การติดต่อระหว่างส่วนราชการ • สะดวกในการประสานงานและสั่งงาน

  7. ประโยชน์ของการบันทึก • ลดเวลาของ ผบช. • ผบช. ได้ทราบความเห็นของเจ้าหน้าที่ • ผบช. ได้ทราบข้อมูลก่อนตกลงใจ

  8. หลักการบันทึก • เจ้าของเรื่องโดยตรงบันทึกก่อน • บันทึกด้วยความเป็นกลาง • สั้นและชัดเจน • ไม่ก้าวก่ายหน้าที่อื่น • เรื่องสำคัญปรึกษาผู้ใหญ่ก่อนบันทึก • รับผิดชอบข้อความที่บันทึก

  9. ข้อควรระวังในการบันทึกข้อควรระวังในการบันทึก • อย่าให้กระทบใจบุคคลหรือหน่วย • ทำตัวเป็นกลาง ไม่ผูกมัด ชักจูง ผบช. • สิ่งที่เป็นอำนาจของ ผบช. ให้ ผบช. วินิจฉัยเอง • ไม่นำเรื่องส่วนตัวมาพัวพัน

  10. ตำแหน่งของผู้บันทึก • เรื่องออกนอกหน่วย หน.หน่วย เป็นผู้ลงนาม ความเห็นของเจ้าหน้าที่ให้อยู่ภายในหน่วย • เรื่องภายในหน่วย เจ้าหน้าที่บันทึกโต้ตอบกันได้

  11. ประเภทของการบันทึก 1. บันทึกย่อเรื่อง • 2. บันทึกรายงาน • 3. บันทึกความเห็น • 4. บันทึกติดต่อและสั่งการ

  12. บันทึกย่อเรื่อง • เป็นการเขียนข้อความย่อจากเรื่องเอาแต่ประเด็นสำคัญมาให้สมบูรณ์ • ช่วยให้ ผบช. อ่านแล้วเข้าใจได้ไม่ผิดพลาด

  13. บันทึกรายงาน • เป็นการเขียนข้อความรายงานเรื่องที่ปฏิบัติให้ ผบช. ทราบ • เป็นเรื่องในหน้าที่หรือเรื่องที่ได้รับมอบหมาย

  14. บันทึกความเห็น • เป็นการเขียนข้อความแสดงความเห็นของเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องที่เสนอ • ช่วยให้ ผบช. ทราบ ความเป็นมาปัญหา ข้อพิจารณา ข้อดีข้อเสียประกอบการตกลงใจ

  15. บันทึกติดต่อและสั่งการบันทึกติดต่อและสั่งการ • เป็นการเขียนข้อความติดต่อภายในหน่วยเดียวกัน • เป็นการสั่งการของ ผบช. ไปยังผู้ใต้บังคับบัญชา

  16. วัตถุประสงค์ของข้อพิจารณาของ ฝอ. • เพื่อวิเคราะห์และเสนอการแก้ปัญหา • เสนอข้อสรุปและข้อเสนอให้ ผบช. ตกลงใจ • คล้ายกับการประมาณการในการรบ • เพื่อช่วย ผบช. ในการตกลงใจในเรื่องที่มีปัญหาซับซ้อน

  17. หลักการเขียนข้อพิจารณาของ ฝอ. • 1. สั้น • 2. ชัดเจน 3. ถูกต้อง 4. เกี่ยวโยงกัน 5. มีเอกภาพ 6. มีความสมบูรณ์

  18. รูปแบบข้อพิจารณาของ ฝอ. • 1. ปัญหา … 2. สมมุติฐาน … 3. ข้อเท็จจริง … 4. ข้อพิจารณา … 5. ข้อสรุป … 6. ข้อเสนอ ...

  19. บก.ทท. • ยึดถือปฏิบัติตามอนุมัติ ผบ.ทหารสูงสุด ลง 29 ต.ค.39 ท้ายหนังสือ ยก.ทหารที่ กห0304/1222 ลง 24 ต.ค.39 • และอนุมัติ ผบ.ทหารสูงสุด ลง 25 ก.ย.51 ท้ายหนังสือ ยก.ทหาร ที่ กห0304/3275ลง 25 ก.ย.51

  20. อนุมัติ 3 รูปแบบ 1. ข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ 2. บันทึกความเห็น 5 แบบ 3. รายงานหรือเรื่องนำเรียนเพื่อทราบ

  21. บันทึกความเห็น 5 แบบ แบบ 1 แบบสมบูรณ์ 4 หัวข้อ แบบ 2 มี 4 ข้อ ต่างกันที่ข้อ 1 แบบ 3 มี 4 ข้อ ต่างกันที่ข้อ 1, 2, 3 แบบ 4 มี 3 ข้อ แบบ 5 มี 2 ข้อ

  22. บันทึกความเห็น แบบที่ 1 1. ปัญหา ….. 2. ข้อเท็จจริง ….. 3. ข้อพิจารณา ….. 4. ข้อเสนอ …..

  23. บันทึกความเห็น แบบที่ 2 1. ..… (ปัญหา) ….. 2. ข้อเท็จจริง ….. 3. ข้อพิจารณา ….. 4. ข้อเสนอ …..

  24. บันทึกความเห็น แบบที่ 3 1. ….. (ปัญหา) ….. 2. ..… (ข้อเท็จจริง) ..… 3. ..… (ข้อพิจารณา) ….. 4. ข้อเสนอ …..

  25. บันทึกความเห็น แบบที่ 4 1. … (ปัญหา หรือปัญหา + ข้อเท็จจริง) 2. … (ข้อเท็จจริง + ข้อพิจารณา หรือ ข้อพิจารณา) ….. 3. ข้อเสนอ …..

  26. บันทึกความเห็น แบบที่ 5 1. ….. (ปัญหา + ข้อเท็จจริง + ข้อพิจารณา) ….. 2. ข้อเสนอ …..

  27. ตอนที่ 2 ประสบการณ์

  28. การทำบันทึกความเห็น • มี 2 ลักษณะ คือ เรื่องเพื่อทราบ และเรื่องเพื่อขออนุมัติ • แบ่งเป็น 3 แบบ คือ 1. การทำบันทึกฯ ปะหน้าเรื่องของหน่วยรอง 2. การทำบันทึกฯ ปะหน้าเรื่องของหน่วยนอก 3. การตั้งเรื่องขึ้นเอง

  29. ศัพท์เฉพาะ • หน่วยรอง : นขต. และ หน่วยในการกำกับดูแลทางฝ่ายเสนาธิการ • หน่วยนอก : หน่วยที่ไม่ใช่ นขต. และหน่วยในการกำกับดูแลทางฝ่ายเสนาธิการ

  30. การบันทึกฯ ปะหน้าเรื่องของหน่วยรอง • มี 2 วิธี คือ 1. บันทึกฯ ต่อท้ายในหนังสือของหน่วยรอง 2. บันทึกฯ ในกระดาษแผ่นใหม่

  31. การบันทึกฯ ต่อท้ายในหนังสือของหน่วยรอง • เป็นเรื่องเพื่อทราบ หรือเพื่อลงนาม • หน่วยรองเขียนมาชัดเจนแล้ว • เป็นเรื่องเร่งด่วน • มีที่ว่างพอให้บันทึกฯ ได้ • เขียนด้วยลายมือ หรือพิมพ์ก็ได้

  32. ตัวอย่าง การบันทึกฯ ต่อท้ายในหนังสือของหน่วยรอง เรียน ………. - เพื่อกรุณาทราบ พ.อ. ……………..... ………………. …../…../…..

  33. เรียน ………. 1. เพื่อกรุณาทราบ 2. เห็นควรให้………...….ทราบด้วย พ.อ. ……………..… ………………. …../…../…..

  34. การบันทึกฯ ปะหน้าเรื่องของหน่วยรองโดยใช้กระดาษแผ่นใหม่ • แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือขั้นตอนที่ 1 อ่าน - สรุป คิดโครงร่าง วางแผนการเขียนขั้นตอนที่ 2 ศึกษาหลักฐาน ประสานงานขั้นตอนที่ 3 บันทึกความเห็น ร่างหนังสือ ประกอบ

  35. ขั้นตอนที่ 1 อ่าน - สรุป คิดโครงร่าง วางแผนการเขียน • สรุปประเด็น ความต้องการของหน่วยรอง • คิดโครงร่างในใจ • วางแผนการเขียน

  36. ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาหลักฐาน ประสานงาน • ขอเรื่องเดิมมาศึกษา • ศึกษา กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่ง หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง • ประสานงาน

  37. ขั้นตอนที่ 3 บันทึกความเห็น ร่างหนังสือประกอบ • ร่างสำหรับ ผอ.กอง และ ผบ.หน่วย • บางเรื่อง ร่างหนังสือสำหรับ ผบ.หน่วย ก่อน • บางเรื่อง ร่างหนังสือสำหรับ ผอ.กอง ก่อน

  38. การตั้งชื่อเรื่อง • ใช้ตามเรื่องเดิม • ตั้งใหม่ตามความเหมาะสม

  39. การเขียน “ปัญหา” • มักใช้เฉพาะเลขข้อ • สรุปความต้องการของหน่วยรอง ใคร อะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไร ทำไม

  40. การเขียน “ข้อเท็จจริง” • ใช้ 2. ข้อเท็จจริง หรือ 2. ….. ก็ได้ • อาจใช้ “ความเป็นมา” “เรื่องเดิม” ก็ได้ • เขียนข้อความต่อจากหัวข้อ หรือใช้ข้อย่อย ก็ได้ • เขียนเฉพาะข้อมูลที่ตรงประเด็น ให้สัมพันธ์กับข้อพิจารณา และข้อเสนอ • อ้างระเบียบ อนุมัติหลักการ การปฏิบัติที่ผ่านมา

  41. การเขียน “ข้อพิจารณา” • ใช้ 3. ข้อพิจารณา หรือ 3. ….. ก็ได้ • เขียนข้อความต่อจากหัวข้อ หรือใช้ข้อย่อย ก็ได้ • ใช้รูปแบบการเขียนให้สัมพันธ์กับข้อ 2 • พิจารณาเฉพาะประเด็นสำคัญ โน้มน้าว ไปสู่ข้อเสนอที่เตรียมไว้ • ประเด็น : ผลดี ประโยชน์ งบประมาณ อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย นโยบาย ผบ.ผลลัพธ์ การตรวจสอบประเมินผล

  42. การเขียน “ข้อเสนอ” • ใช้ 4. ข้อเสนอ เสมอ • เขียนข้อความต่อจากหัวข้อ หรือใช้ข้อย่อย ก็ได้ • ถ้ามี 2 ห/ป อาจต้องเสนอทั้ง 2 ห/ป • ถ้าเสนอให้มีหนังสือถึงหน่วยใด จะต้องร่างหนังสือถึงหน่วยนั้นแนบไปด้วย

  43. การเขียน “คำลงท้าย” • จึงเรียนมาเพื่อกรุณาอนุมัติในข้อ … • จึงเรียนมาเพื่อกรุณาพิจารณา หากเห็นสมควรกรุณาอนุมัติในข้อ … • …..และลงนามในร่างหนังสือที่แนบ • …..หากเห็นสมควรกรุณาอนุมัติในข้อ 4 และ (รอง ผบ.หน่วย) กรุณาลงนามในร่างหนังสือที่แนบ

  44. การร่างหนังสือประกอบ • จะให้ใครลงนาม • เขียนให้ จก.สธร.ฯ ลงนามต้องใช้รูปแบบข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ • เขียนให้ หน.นขต.บก.ทท. ลงนาม จะใช้เฉพาะเลขข้อ จะไม่มี 4. ข้อเสนอ • เขียนได้ 2 แบบ

  45. แบบที่ 1 อิงหัวข้อรูปแบบบันทึกความเห็น 1. ปัญหาหรือความต้องการของหน่วย 2. ข้อเท็จจริงหรือความเป็นมา 3. ข้อพิจารณาของหน่วย 4. เสนอว่าสมควรอนุมัติให้ดำเนินการ ตามข้อ 1 หรือไม่

  46. แบบที่ 2 เขียนโดยลำดับเหตุการณ์ 1. ความเป็นมาหรือกล่าวนำ 2. ข้อเท็จจริงหรือความเป็นมา 3. ข้อพิจารณาของหน่วย 4. ความต้องการของหน่วย

  47. การทำบันทึกฯ ปะหน้าเรื่องของหน่วยนอก • แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 อ่าน - สรุป คิดโครงร่าง วางแผนการเขียน ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาหลักฐาน ประสานงาน ขั้นตอนที่ 3 บันทึกความเห็น ร่างหนังสือ ประกอบ

More Related