1 / 26

กรอบการบริหาร “งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ” ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

กรอบการบริหาร “งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ” ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปี 2557. ประชุมคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8 ครั้งที่ 2/2556 วันที่ 28 ตุลาคม 2556 เวลา 13.30 -16.30 น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี.

Télécharger la présentation

กรอบการบริหาร “งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ” ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบการบริหาร “งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ” ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปี 2557 ประชุมคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่8 ครั้งที่ 2/2556 วันที่ 28 ตุลาคม 2556 เวลา 13.30 -16.30 น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

  2. เป้าประสงค์ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิที่จำเป็นอย่างทั่วถึง เป็นธรรมและมีคุณภาพได้มาตรฐาน ** บริการสาธารณสุข ตามมาตรา ๓แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ๒๕๔๕ :หมายความว่า บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขซึ่งให้โดยตรงแก่บุคคล เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ทั้งนี้ให้รวมถึง การบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ

  3. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการทั้งที่หน่วยบริการและดูแลสุขภาพถึงบ้าน เมื่อเกินความสามารถ สามารถปรึกษาและประสานการ ส่ง ต่อ- ส่งกลับให้มีการดูแลอย่างต่อเนื่อง ประชาชนมีความเชื่อมั่นและเข้ารับบริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิเป็นที่แรก เพื่อส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงกับระบบสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็ง

  4. ใช้กลไกการเงินสนับสนุนตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานใช้กลไกการเงินสนับสนุนตามเกณฑ์คุณภาพและผลงาน กระตุ้นการบริหารเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ(District Health System) ให้เข้มแข็ง /พัฒนาความร่วมมือภาครัฐ-เอกชน หรือกิจกรรมเพื่อสังคม (Social enterprise) บูรณาการการบริหารงบกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เขต กรอบแนวคิดงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและบริการปฐมภูมิ 2557 ร่วมมือกับ สธ. องค์กรวิชาชีพ และภาค ต่างๆในการสนับสนุนการกระจาย และพัฒนา กำลังคนในบริการปฐมภูมิ กระจายอำนาจการจัดการสุขภาพตามความต้องการด้านสุขภาพ (Health Needs)ของแต่ละเขต สนับสนุนภาคส่วนต่างๆ (อปท. เอกชน social enterprise) เข้ามาร่วมจัดการบริการ เสริมบทบาทกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชน

  5. แนวทางการบริหารค่าบริการที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและ ผลงานบริการปฐมภูมิ ปี 2557สปสช. เขต 8 อุดรธานี งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ปี 2557(37 บาท/ปชก.UC) งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ PP 97,268,720 บาท (20 /ปชก.ทุกสิทธิ์) งบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (QOF) 139,669,703 บาท ( 32 บ./ปชก.UC) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ ( 5 บ./ปชก.UC) งบ PP + งบ QOF บริหารจัดการระดับเขต 236,938,423 บาท ( 54.65 บ./ปชก.UC) บริหารโดย สปสช.เขต 17,347,580 บาท ( 4บาท/ปชก.UC) บริหารระดับ ปท. (1 บาท/ปชก.UC) รางวัล CUP-Award 2,369,384 บาท (0.55 บ./UC) บูรณาการกับงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ 4 กองทุน (PP , PC , Rehab , TTM) จัดสรรล่วงหน้าพร้อมงบเหมาจ่าย 121,946,110 บาท (28.13 บ./UC) จัดสรรตามคุณภาพผลงาน (QOF) 112,622,929 บาท (25.97 บ./UC)

  6. องค์ประกอบตัวชี้วัดคุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ • 4 ด้าน • ตัวชี้วัดด้านที่ 1: คุณภาพและผลงานการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • ตัวชี้วัดด้านที่ 2: คุณภาพและผลงานการจัดบริการปฐมภูมิ • ตัวชี้วัดด้านที่ 3: คุณภาพและผลงานด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ • ตัวชี้วัดด้านที่ 4: คุณภาพและผลงานของบริการที่จำเป็นตอบสนองปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และบริการเสริมในพื้นที่ • 2 ระดับ • ตัวชี้วัดกลาง: เป็นตัวชี้วัดทีส่วนกลางและเขตกำหนดร่วมกัน และทุกเขตต้องนำไปใช้วัดผลและจัดสรรงบประมาณ • ตัวชีวัดพื้นที่: เป็นตัวชี้วัดที่คณะกรรมการพัฒนาบริการปฐมภูมิระดับเขตกำหนดเพิ่มเติมตามความจำเป็น ปัญหา และบริบทของพื้นที่ ตามความเห็นชอบของอปสข.

  7. แนวทางการพิจารณาเลือกตัวชี้วัดแนวทางการพิจารณาเลือกตัวชี้วัด 1A4C: Accessibility (A) Comprehensive (C1) Continuity (C2) Co-ordinating (C3) Community (C4) • SMART: • Specific • Measurable • Achievable • Realistic • Timely เป็นนโยบาย /ชี้ทิศการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิของประเทศ หรือพื้นที่ สอดคล้องกับตัวชี้วัดของ กระทรวงสาธารณสุข และ สปสช. มีระบบฐานข้อมูลรองรับ ไม่เป็นภาระกับหน่วยบริการ /หน่วยที่เกี่ยวข้องในการจัดการข้อมูล เช่น OP indiv. , IP , ฐานขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือได้ เป็นตัวชี้วัดที่มี specificity / sensitivity ในการสะท้อนคุณภาพ/ผลงานบริการปฐมภูมิ (1A4C)

  8. (ร่าง)ตัวชี้วัดคุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ปี2557(Quality and Outcome Framework :QOF) QOF 2557 หมายเหตุ : คะแนนรวม 1000 คะแนน

  9. ตัวชี้วัดด้านที่ 1: คุณภาพและผลงานการจัดบริการ PP

  10. ตัวชี้วัดด้านที่ 1: คุณภาพและผลงานการจัดบริการ PP

  11. ตัวชี้วัดด้านที่ 2 : คุณภาพและผลงานการจัดบริการ ปฐมภูมิ

  12. ตัวชี้วัดด้านที่ 3 : คุณภาพและผลงานด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ

  13. ตัวชี้วัดด้านที่ 4 : คุณภาพและผลงานของบริการที่จำเป็นตอบสนองปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และบริการเสริมในพื้นที่

  14. สรุปคะแนนตัวชี้วัดรวมทุกด้านสรุปคะแนนตัวชี้วัดรวมทุกด้าน คะแนนรวมตัวชี้วัดระดับกลาง = 600 คะแนน คะแนนรวมตัวชี้วัดระดับพื้นที่ = 400 คะแนน รวมคะแนน = 1,000 คะแนน

  15. แนวทางการจัดการจัดสรรงบตาม ตัวชี้วัด QOF • ใช้ผลงานบริการ 4 ไตรมาส แบ่งเป็น • ไตรมาส 3 และ 4 ปี 2556 • ไตรมาส 1 และ 2 ปี 2557 • 2. ใช้ข้อมูลที่มีในระบบของกสธ. และสปสช.เป็นหลัก • เช่น OP – Ind. (21 แฟ้ม) • งบ Prepaid ให้ถือว่างบ Minimum ที่ควรได้

  16. 2.งบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑฺคุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (QOF) ข้อเสนอเพิ่มเติม -กำหนดให้มีรางวัล Province-Award การกำหนด KPI จังหวัด เพื่อลำดับจังหวัดผลงานยอดเยี่ยมแห่ง มอบให้ สปสช. เขต 8 ดำเนินการ -การกำหนดให้มีรางวัล CUP-Award มติ อปสข. ให้กันงบ QOF ประมาณ 1% เป็นเงินรางวัล เพื่อสร้างแรงจูงใจ โดยใช้ผลการประเมิน มอบให้ คทง. QOF คิดเกณฑ์การประเมินและการจัดสรรงบ

  17. การบริหารงบส่วนที่ 2 งบเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการปฐมภูมิ

  18. กรอบการบริหารงบเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการปฐมภูมิ ปี 2557 งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการแบบบูรณาการ 4 กองทุนย่อย งบสนับสนุนส่งเสริม P&P (29,180,616 บ.) งบสนับสนุนส่งเสริม Rehab (5,000,000 บ.) งบสนับสนุนส่งเสริม Primary Care (17,347,580 บ.) งบสนับสนุนส่งเสริม TTM (2,000,000 บ.) งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขแบบบูรณาการ (53,528,196 บาท) 1.สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข เครือข่ายบริการที่ 8 43,228,196 บาท 2. สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาระบบ UC เขต 8 อุดรธานี : 10,300,000 บาท Global จังหวัด 27,588,196 บาท สนับสนุน Service Plan เครือข่ายบริการที่ 8 5,440,000 บาท เครือข่ายการพัฒนาแบบ Node 10,200,000 บาท

  19. การจัดสรรงบเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการปฐมภูมิ แบบ Global จังหวัด

  20. แผนงานสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์หลัก เครือข่าบริการที่ 8 : Service Plan ปีงบประมาณ 2557 (งบประมาณจำนวน 5,440,000.00 บาท)

  21. แผนงานสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์หลัก เครือข่าบริการที่ 8 : Service Plan ปีงบประมาณ 2557 (งบประมาณจำนวน 5,440,000.00 บาท)

  22. แผนงานสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์หลัก เครือข่าบริการที่ 8 : Service Plan ปีงบประมาณ 2557 (งบประมาณจำนวน 5,440,000.00 บาท)

  23. แผนงานสนับสนุนการเครือข่ายพัฒนาแบบ Node เฉพาะด้าน ปีงบประมาณ 2557 (งบประมาณ 10,200,000.00 บาท)

  24. แผนงานสนับสนุนการเครือข่ายพัฒนาแบบ Node เฉพาะด้าน ปีงบประมาณ 2557 (งบประมาณ 10,200,000.00 บาท)

  25. แผนงานสนับสนุนการดำเนินงาน ของ สปสช.เขต 8 อุดรธานี ปีงบประมาณ 2557 (งบประมาณ จำนวน 10,300,00.00 บาท)

  26. แผนงานสนับสนุนการดำเนินงาน ของ สปสช.เขต 8 อุดรธานี ปีงบประมาณ 2557 (งบประมาณ จำนวน 10,300,00.00 บาท)

More Related