1 / 28

บทที่ 9

บทที่ 9. การประเมินมูลค่าของธุรกิจ (Valuation of the Firm). วัตถุประสงค์ของการประเมินมูลค่า. เพื่อเพิ่มความมั่งคั่งของผู้ถือหุ้น วัดจากราคาตลาดของหุ้นสามัญที่สูงสุด มูลค่าของธุรกิจต้องสูงสุด ประเมินมูลค่าของเงินทุนระยะยาว หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ. การประเมิน มูลค่า (Valuation).

Télécharger la présentation

บทที่ 9

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 9 การประเมินมูลค่าของธุรกิจ (Valuation of the Firm)

  2. วัตถุประสงค์ของการประเมินมูลค่าวัตถุประสงค์ของการประเมินมูลค่า • เพื่อเพิ่มความมั่งคั่งของผู้ถือหุ้น • วัดจากราคาตลาดของหุ้นสามัญที่สูงสุด • มูลค่าของธุรกิจต้องสูงสุด • ประเมินมูลค่าของเงินทุนระยะยาว หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ

  3. การประเมินมูลค่า (Valuation) คือ การหามูลค่าที่แท้จริง (Intrinsic Value) หรือมูลค่าที่ควรจะเป็น ณ ปัจจุบัน โดยมีการประมาณเกี่ยวกับ 1. ผลตอบแทน 2.ความเสี่ยงที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตหรือ 3.มูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับในอนาคต

  4. การประเมินมูลค่าของหนี้สินระยะยาวการประเมินมูลค่าของหนี้สินระยะยาว ส่วนประกอบของหนี้สินระยะยาว 1. เงินกู้ยืมระยะยาว (อัตราดอกเบี้ยและระยะเวลา) 2. หุ้นกู้ (อัตราผลตอบแทน ระยะเวลาไถ่ถอน) ปัจจัยที่มากำหนดมูลค่าที่แท้จริงของหุ้นกู้ 1. มูลค่าที่ตราไว้ในใบหุ้น (Par Value) 2. ระยะเวลาครบกำหนดไถ่ถอน (Maturity) 3. อัตราดอกเบี้ยที่ตราไว้ (Coupon Rate) 4. อัตราส่วนลดหรือค่าของทุนของหุ้นกู้

  5. มูลค่าที่ตราไว้ในใบหุ้นกู้มูลค่าที่ตราไว้ในใบหุ้นกู้ - มูลค่าที่ระบุไว้ในใบหุ้นกู้ เพื่อใช้ในการคำนวณดอกเบี้ยจ่ายและเป็นมูลค่าที่ใช้ในการไถ่ถอนหุ้นกู้เมื่อครบกำหนด ระยะเวลาครบกำหนดการไถ่ถอน - จำนวนปีที่ออกหุ้นกู้ จนกระทั่งครบกำหนดไถ่ถอนหรือจนกระทั่งถึงวันที่ผู้ลงทุนซื้อหุ้นกู้ของธุรกิจได้รับเงินตามมูลค่าที่ตราไว้ในใบหุ้นคืนจากธุรกิจผู้ออกหุ้นกู้ อัตราดอกเบี้ยที่ตราไว้ - อัตราดอกเบี้ยที่ตราไว้ในใบหุ้นกู้ เพื่อใช้คำนวนดอกเบี้ยจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น จนครบกำหนดการไถ่ถอน โดยจะมีอัตาคงที่คงที่ตลอดไปจบครบกำหนด

  6. อัตราส่วนลดหรือค่าของทุนของหุ้นกู้หลังภาษีอัตราส่วนลดหรือค่าของทุนของหุ้นกู้หลังภาษี หมายถึงอัตราส่วนลดที่นำมาคำนวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายในแต่ละงวดเทียบค่ากับมูลค่าที่ตราไว้เมื่อครบกำหนดไถ่ถอน 1. การกำหนดอัตราส่วนลดไว้สูง จะทำให้ประเมินมูลค่าที่แท้จริงของหุ้นกู้ต่ำ ในทาง2. การกำหนดอัตราส่วนลดไว้ต่ำ จะทำให้ประเมินมูลค่าที่แท้จริงของหุ้นกู้ได้สูง วิธีการประเมินมูลค่าของหุ้นกู้ 1. การประเมินมูลค่าหุ้นกู้ ชนิดแปลงสภาพไม่ได้ 2. การประเมินมูลค่าหุ้นกู้ ชนิดแปลงสภาพได้

  7. การประเมินมูลค่าหุ้นกู้ ชนิดแปลงสภาพไม่ได้ หมายถึงการที่หุ้นกู้นั้นไม่สามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ โดยจะต้องถือจนกระทั้งครบกำหนดการไถ่ถอนคืน V = มูลค่าที่แท้จริงหรือมูลค่าปัจจุบันของหุ้นกู้ I = ดอกเบี้ยจ่าย t =เวลา(ปี) n =ระยะเวลาครบกำหนดการไถ่ถอน F =มูลค่าที่ตราไว้ในใบหุ้นหรือมูลค่าครบกำหนดการไถ่ถอน หรือ V = I(PVIFA ที่ Kd % ,n ปี )+F(PVIFที่ Kd % ,nปี) ดูตัวอย่างที่ 1

  8. สรุปผลการประเมินมูลค่าหุ้นกู้สรุปผลการประเมินมูลค่าหุ้นกู้ • ถ้า K = I มูลค่าหุ้นกู้ที่ประเมินได้จะเท่ากับมูลค่าที่ตราไว้ • ถ้า K ต่ำกว่าI มูลค่าหุ้นกู้ที่ประเมินได้จะสูงกว่ามูลค่าที่ตราไว้ • ถ้า K สูงกว่า I มูลค่าหุ้นกู้ที่ประเมินได้จะต่ำกว่ามูลค่าที่ตราไว้

  9. กรณีที่หุ้นกู้จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าปีละครั้ง จะต้องปรับสูตรจากคำนวนปี เป็นจำนวนงวดที่จ่ายชำระดอกเบี้ย เมื่อ

  10. การประเมิณมูลค่าหุ้นกู้ชนิดแปลงสภาพได้หมายถึงหุ้นกู้ชนิดที่สามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ โดยธุรกิจผู้ออกหลักทรัพย์จะกำหนดว่าหลังจากออกมาแล้วจำนวนกี่ปี จึงสามารถแปลงสภาพได้ ในอัตราแปลงสภาพเท่าใด สูตร การคำนวณมูลค่าที่แท้จริงกรณีหุ้นกู้แปลงสภาพจ่ายดอกเบี้ยปีละครั้ง C = มูลค่าแปลสภาพ เท่ากับอัตรแปลงสภาพคูณกับราคาตลาดของหุ้นสามัญ ณ เวลาที่แปลสภาพ สูตร การคำนวณมูลค่าที่แท้จริงกรณีหุ้นกู้แปลสภาพจ่ายดอกเบี้ยมากกว่าปีละครั้ง

  11. ตราสารหนี้ โครงสร้างพื้นฐานของตราสารหนี้ Coupon คืออัตราดอกเบี้ยคงที่ หรือเปลี่ยนแปลงได้ Maturity คือระยะเวลากำหนดไถ่ถอนคงที่หรือเปลี่ยนแปลงได้ Redemption คือการไถ่ถอนก่อนหรือหลังกำหนดไถ่ถอน หรือนำไปโยงกับตัวแปรอื่นๆได้ Issue Price คือเรียกชำระเต็มมูลค่า หรือเพียงบางส่วน Warrants คือเอกสารสิทธิ์

  12. ดูตัวอย่างที่ 2ดูตัวอย่างที่ 3

  13. ประเภทของอัตราดอกเบี้ยที่ตราไว้ประเภทของอัตราดอกเบี้ยที่ตราไว้ • จ่ายอัตรดอกเบี้ยคงที่ (Fixed Coupon) • จ่ายอัตราดอกเบี้ยที่ผันแปรได้ (Variable Rates) • จ่านอัตรดอกเบี้ยแบบลอยตัว (Floating Rate) - FRNs

  14. ตัวอย่างอัตราดอกเบี้ยคงที่ตัวอย่างอัตราดอกเบี้ยคงที่ • Plain Vanilla Fixed Coupon เป็นตราสารแบบดั้งเดิมจ่ายผลตอบแทนในอัตราคงที่ • Zero Coupon เป็นตราสารที่ไม่จ่ายผลตอบแทน แต่จะขายในราคามีส่วนลด แล้วไถ่ถอนในราคาที่ตราไว้ • Foreign Currency เป็นการจ่ายผลตอบแทนเป็นเงินตราต่างประเทศ

  15. ตัวอย่างอัตราดอกเบี้ยที่ผันแปรตัวอย่างอัตราดอกเบี้ยที่ผันแปร • Graduate Rate Coupon เป็นการจ่ายอัตราดอกเบี้ยแตกต่างกันตามอายุการไถ่ถอน • Profit Sharing Bond เป็นการจ่ายอัตราดอกเบี้ยโดยโยงเข้ากับการจ่ายเงินปันผล • Indexed เป็นการจ่ายอัตราดอกเบี้ยโดยโยงกับดัชนีบางอย่าง

  16. ตัวอย่างอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัวตัวอย่างอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัว • Plain Vanilla FRN เป็นการจ่ายอัตราดอกเบี้ยโดยขึ้นกับอัตราดอกเบี้ยที่ใช้เป็นมาตรฐานทั่วไป • Floor เป็นการจ่ายอัตราดอกเบี้ยที่ประกันอัตราขั้นต่ำไว้ • Cap เป็นการจ่ายอัตราดอกเบี้ยที่มีการกำหนด • Collar เป็นการกำหนดอัตราดอกเบี้ยต่ำสุดและสูงสุดไว้ • Convertible FRNs เป็นการกำหนดเงื่อนไข ที่ผู้ลงทุนสามารถเปลี่ยนตราสารที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ได้ตลอดเวลา • Drop-Lock จะแปลงสภาพเป็นตราสารที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ทันทีที่อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นลดต่ำกว่าอัตราที่กำหนดไว้ • Double Drop-Lock เป็นการจ่ายอัตราดอกเบี้ย 2 อัตรา นักลงทุนในกรณีที่อัตราดอกเบี้ยขึ้นลงอย่างรวดเร็ว

  17. การประเมินทูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ์การประเมินทูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ์ การคำนวนหามูลค่าที่แท้จริงของหุ้นบุริมสิทธิ์ • D= เงินปันผลรับ

  18. หุ้นบุริมสิทธิ์ จ่ายเงินปันผลมากกว่าปีละ 1 ครั้ง • หุ้นบุริมสิทธิ์ของบริษัท ไม่มีกำหนดระยะเวลาไถ่ถอน

  19. ดูตัวอย่างที่ 4

  20. การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญการประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ • นโยบายการจ่ายเงินปันผล • ความสามารถทำกำไร • การประเมินโดยหามูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคต

  21. การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญการประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ วิธีการประเมินตัวแบบคิดลดเงินปันผล (Dividend Discount Models) 1.อัตราการเพิ่มของเงินปันผลป็นศูนย์ (Zero GrowthModel) 2.อัตราการเพิ่มของเงินทุนปันผลคงที่ (Constant GrowthModel) 3.อัตราการเพิ่มของเงินทุนปันผลไม่คงที่ (Multiple GrowthModel)

  22. วิธีอัตราการเพิ่มของเงินปันผลเป็นศูนย์วิธีอัตราการเพิ่มของเงินปันผลเป็นศูนย์ หมายถึง การที่กิจการกำหนดนโยบายจ่ายเงินปันผลเท่ากันทุกปี สูตร

  23. ดูตัวอย่างที่ 5

  24. วิธีอัตราการเพิ่มของเงินทุนปันผลคงที่วิธีอัตราการเพิ่มของเงินทุนปันผลคงที่ หมายถึง เงินปันผลที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นที่เท่ากันทุกๆ ปี สูตร

  25. ดูตัวอย่างที่ 6

  26. วิธีอัตราการเพิ่มของเงินทุนปันผลไม่คงที่วิธีอัตราการเพิ่มของเงินทุนปันผลไม่คงที่ หมายถึง อัตราการเพิ่มของเงินปันผลที่ไม่เท่ากัน แบ่งเป็น 2 ช่วง ช่วงแรกอัตราไม่เท่ากัน ช่วงต่อไปอัตราเพิ่มของเงินปันผลคงที่ตลอดไป สูตร

  27. ดูตัวอย่างที่ 7

  28. มูลค่าของธุรกิจ • หมายถึงผลรวมของมูลค่าที่ประเมินได้จากมูลค่าของหนี้ระยะยาว หุ้นบุริมสิทธิ์ หุ้นสามัญ ดูตัวอย่างที่ 8

More Related