1 / 27

ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงโครงข่าย การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน

ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงโครงข่าย การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน. นายจุฬา สุขมานพ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. 25 มกราคม 2556.

Télécharger la présentation

ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงโครงข่าย การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงโครงข่ายการขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงโครงข่ายการขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน นายจุฬา สุขมานพ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร 25 มกราคม 2556

  2. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนการสร้างประชาคมอาเซียน ส่งเสริมการใช้กฎระเบียบ และธรรมภิบาลในอาเซียน เพิ่มพูนการรวมกลุ่มและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน เพิ่มพูนความอยู่ดีกินดีและวิถีชีวิตของประชากรอาเซียน ลดช่องว่างการพัฒนา ความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน การท่องเที่ยว การศึกษา วัฒนธรรม การเชื่อมโยงทางสถาบัน (Institutional Connectivity) การเปิดเสรีอาเซียน : ความตกลงการค้าสินค้าในอาเซียน มาตรฐาน การบริการศุลกากร ณ จุดเดียว การรวมศุลกากร การเปิดเสรีการลงทุน : ความตกลงด้านการลงทุนอาเซียน การเปิดเสรีบริการ ข้อตกลงยอมรับร่วมความตกลงการขนส่งในภูมิภาค โครงการเสริมสร้างศักยภาพ การเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) การขนส่ง : อากาศ ถนน รถไฟ ทะเล ท่าเรือ การบริการขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร: โครงข่ายใยแก้วนำแสง พลังงาน : การเชื่อมโยงระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน เขตเศรษฐกิจพิเศษ การระดมทรัพยากร ทรัพยากรของอาเซียน ธนาคารเพื่อการพัฒนาพหุภาคี ประเทศคู่เจรจา ภาคเอกชน ความเชื่อมโยงระหว่างกันของอาเซียน 2

  3. Malaysia 30.4% Thailand23.5% 19 ล้านคน Singapore 16.2% Indonesia 9.4% Viet Nam 7.4% The Philippines 4.8% Cambodia 3.55% Lao PDR 3.3% Myanmar 1.0% Brunei Darussalam 0.3% Tourist arrivals in ASEAN No. of tourists (in thousand arrivals) 80% เดินทางโดยเครื่องบิน ที่มา : ASEAN ปี 2011

  4. EVERY ROAD leads to Thailand

  5. ประตูการค้าหลัก  ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ  ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน สะพานข้ามแม่น้ำโขง แห่งที่ 4 ด่านหนองคาย ประตูการค้าชายแดนที่สำคัญ ด่านแม่สอด ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด่านอรัญประเทศ ท่าเรือแหลมฉบัง ด่านสะเดา 20

  6. สถานภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งในปัจจุบันสถานภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งในปัจจุบัน โครงข่ายทางหลวง โครงข่ายทางรถไฟ

  7. สถานภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งในปัจจุบัน (ต่อ) เส้นทางขนส่งท่าเรือชายฝั่ง โครงข่ายทางอากาศ

  8. มาตรการสำคัญในการเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างประเทศมาตรการสำคัญในการเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างประเทศ การเชื่อมโยงทางกายภาพ และ กฎระเบียบ (Physical and Institutional Connectivity) เป็นปัจจัยสำคัญในการเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี และทำให้เกิดการเชื่อมโยงกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้น

  9. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมโยงโครงข่ายการขนส่งทางอากาศ

  10. 2015 2012 2013 2014 ROUTE DEVELOPMENT การพัฒนาเส้นทางการบินในอนาคต Macau Myanmar Laos Philippines Thailand ในตลาดอาเซียน คาดการณ์ว่านักท่องเที่ยวในปี 2558 จะมีปริมาณผู้โดยสารประมาณ 28.6 ล้านคน (จากปี 2554 จำนวน 19.2 ล้านคน) Cambodia Vietnam Brunei Malaysia Singapore Singapore Indonesia Indonesia

  11. วิเคราะห์ SWOTการขนส่งทางอากาศของไทย

  12. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบขนส่ง : การขนส่งทางอากาศ วิสัยทัศน์ในช่วง 10 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2554-2563) “เป็นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมให้บริการทุกระดับที่ปลอดภัย” • เพื่อให้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศยานในภูมิภาค (Aviation Hub) • เพื่อให้การเดินทางทางอากาศมีค่าบริการที่เหมาะสม แข่งขันได้กับรูปแบบการขนส่งอื่นในระยะทางไกล • เพื่อให้การขนส่งทางอากาศมีความปลอดภัย • เพื่อยกระดับท่าอากาศยานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Airport) • ส่งเสริมการใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดพลังงาน และลดปริมาณการปล่อยมลพิษ/ก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมการบิน 11

  13. Suvarnabhumi Airportประตูการค้าหลัก โครงการพัฒนา ทสภ. (ปีงบประมาณ 54-60) ครม. อนุมัติโครงการ 24 ส.ค. 53 ระยะเวลาดำเนินการ 6 ปี วงเงิน 62,503.214 ล้านบาท (รวมสำรองราคาและปริมาณงานเปลี่ยนแปลง 10% ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% และดอกเบี้ยระหว่างก่อสร้าง) วัตถุประสงค์ เพิ่มขีดความสามารถในการรองรับจำนวนผู้โดยสาร จาก 45 ล้านคนต่อปี เป็น 60 ล้านคนต่อปี แบ่งเป็น ผู้โดยสารระหว่างประเทศ 48 ล้านคนต่อปี (ปัจจุบัน 33) ผู้โดยสารภายในประเทศ 12 ล้านคนต่อปี (ปัจจุบัน 12) ประกอบด้วย (1) กลุ่มงานอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 (2) กลุ่มงานอาคารผู้โดยสาร (3) งานออกแบบและก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค (4) งานจ้างที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการ (PMC) 2 SAT-1 1 Concourse D ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

  14. 1.1 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 งบประมาณ 27,864.653 ล้านบาท คลังสินค้า 1.2 งานก่อสร้างลานจอดอากาศยานประชิดอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 งบประมาณ 4,907.342 ล้านบาท 1.3 งานออกแบบและก่อสร้างส่วนต่อเชื่อมอุโมงค์ด้านทิศใต้ และระบบขนส่งผู้โดยสาร (APM) งบประมาณ 7,973.072ล้านบาท East R/W 4,000 m 2.1 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารสำนักงานสายการบินและที่จอดรถด้านทิศตะวันออก (อาคารจอดรถ 1) งบประมาณ 625.673ล้านบาท 2.2 งานออกแบบและก่อสร้างส่วนขยายอาคารผู้โดยสารด้านทิศตะวันออก งบประมาณ 6,780.190 ล้านบาท (3) งานออกแบบและก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค งบประมาณ 2,693.219 ล้านบาท (4) งานจ้างที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการ (PMC) งบประมาณ 763.00 ล้านบาท โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 (ปี 54-60) West R/W 3,700 m เปิดให้บริการ พ.ย. 60 ครม.อนุมัติ 24 ส.ค. 53 วงเงินรวม 62,503.214 ล้านบาท 23

  15. ขีดความสามารถในการรองรับสินค้าของ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

  16. สภาพปัจจุบัน พื้นที่ขนส่งสินค้าของ ทสภ. มีการบริหารจัดการแบบเขตปลอดพิธีการศุลกากร (Custom Free Zone) มีขนาดพื้นที่ตามแผนแม่บททั้งสิ้นประมาณ 660,573 ตารางเมตร สามารถรองรับปริมาณสินค้าได้ประมาณ 3 ล้านตันต่อปี เมื่อทำการขยายเต็มพื้นที่ โดยปัจจุบันพื้นที่ปลอดอากรของ ทสภ. มีการดำเนินกิจกรรมดังนี้ 1. การดำเนินกิจกรรมการนำเข้า ส่งออกสินค้าตามปกติ (Direct Import and Export Transshipment Cargo and Transit Cargo) ทอท.ได้ให้สิทธิในการบริหารจัดการคลังสินค้า แก่ บกท. และ WFSPG 2. การดำเนินกิจกรรมการเพิ่มมูลค่าสินค้า (Value Added Area : VAA) ทอท. ได้ก่อสร้างอาคารคลังสินค้าเพิ่มมูลค่าไว้รองรับผู้ประกอบการที่ประสงค์จะทำกิจกรรมเพิ่มมูลค่าจำนวน 3 หลังพื้นที่ประมาณ 9,250 ตารางเมตรต่อหลัง และจัดให้มีคลังสินค้าที่ผู้ประกอบการสามารถเข้ามาเช่าหรือใช้บริการเป็นรายวัน หรือรายเดือน เพื่อตอบสนองการเป็นศูนย์กระจายสินค้าแบบครบวงจรจำนวน 1 หลัง อาคารคลังสินค้า อาคารขนถ่ายสินค้า (บกท.) อาคารผู้บริหารจัดการ Free Zone อาคารขนถ่ายสินค้า (WFSPG) อาคารตัวแทนขนส่งสินค้าทางอากาศ ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

  17. การเปรียบเทียบขีดความสามารถและการคาดการปริมาณสินค้า ณ ทสภ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) มีปริมาณขนถ่ายสินค้าทางอากาศเข้า-ออก ในปี 54 เป็น 1.35 ล้านตัน โดยมีสัดส่วนร้อยละ 97 เป็นการขนถ่ายสินค้าระหว่างประเทศ Capacity 1.7 Million tonnes/Yr ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

  18. ขีดความสามารถรองรับสินค้าขีดความสามารถรองรับสินค้า ปัจจุบัน 1.7ล้านตันต่อปี เมื่อพัฒนาเต็มพื้นที่ 3ล้านตันต่อปี มีพื้นทีสำรองรอการพัฒนาเพื่อขยายขีดความสามารถในการรองรับสินค้าอีกประมาณ 124,203 ตารางเมตร โดยในปัจจุบัน WFSPG ได้แจ้งความประสงค์ของขยายพื้นที่ให้บริการแล้ว บกท. พื้นที่จัดเก็บสินค้า 95,284 ตร.ม. ขีดความสามารถ 1.2 ล้านตันตอปี WFSPG พื้นที่จัดเก็บสินค้า 44,880 ตร.ม. ขีดความสามารถ 0.5 ล้านตันต่อปี FUTURE FUTURE FUTURE ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

  19. 2 1 โครงการสนับสนุน ก่อน 55 55 56 57 58 ปี 59 เป็นต้นไป สิ้นสุดปี 62 1. โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 2. ถนน 2 เส้นทาง (1) สาย ฉช. 3001 แยก ทล. 314 - ลาดกระบัง – จ.ฉะเชิงเทรา (2) ถนนท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ A11 ถนนวัดกิ่งแก้ว – สาย A6 สมุทรปราการ โครงข่ายคมนาคมรองรับ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิระยะที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถรองรับผู้โดยสารได้ 60 ล้านคน/ปี ลาดกระบัง - จ.ฉะเชิงเทรา A11 ถนนวัดกิ่งแก้ว – สาย A6 ก่อสร้างเสร็จหลังปี 2558 25

  20. แนวทางพัฒนาท่าอากาศยานดอนเมืองแนวทางพัฒนาท่าอากาศยานดอนเมือง ดำเนินการระหว่างปี 2556-59 ดำเนินการระหว่างปี 2560-65 2555 ขีดความสามารถ 27.5 MAP ขีดความสามารถ 22.5 MAP ขีดความสามารถ 16.5 MAP North Corridor North Corridor North Corridor Terminal 2 Terminal 1 Terminal 2 Terminal 1 Terminal 1 Pier 6 Pier 2 Pier 3 Pier 3 Pier 2 Pier 4 Pier 3 Pier 2 Pier 5 Pier 4 Pier 5 Pier 4 Domestic Terminal การพัฒนาระยะที่ 3 รองรับได้ถึงปี 70 การพัฒนาระยะที่ 2 รองรับได้ถึงปี 65 การพัฒนาระยะที่ 1 ดำเนินการปรับปรุงระหว่างช่วงปี 55 20 ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

  21. ทางวิ่ง 1 เส้น ขนาด 45x3,000 ม. 27 09 ทางวิ่ง 1 เส้น ขีดความสามารถ 20 เที่ยวบินต่อชั่วโมง หลุมจอดอากาศยาน 15 หลุมจอด แบ่งเป็น หลุมจอดประชิดอาคาร 7 หลุมจอด หลุมจอดระยะไกล 8 หลุมจอด อาคารผู้โดยสาร 6.5 ล้านคนต่อปี แบ่งเป็น ผู้โดยสารระหว่างประเทศ 3.5 ล้านคนต่อปี ผู้โดยสารภายในประเทศ 3 ล้านคนต่อปี คลังสินค้า รองรับสินค้าได้ 36,500 ตันต่อปี ที่จอดรถ ประมาณ 500 คัน โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ลักษณะทางกายภาพ ท่าอากาศยานภูเก็ต (ทภก) พื้นที่รวมประมาณ 1,500 ไร่ 26 ที่มา : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

  22. สรุปโครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ตได้รับอนุมัติจาก ครม. เมื่อ 1 ธ.ค. 52 โดยมีระยะเวลาดำเนินการรวม 47 เดือน วงเงินลงทุนรวม 5,791.122 ล้านบาท (รวมสำรองราคาปริมาณงานเปลี่ยนแปลง 10% และ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%) - งานขยายทางขับ และลานจอดอากาศยาน 595.92 ล้านบาท - งานปรับปรุงระบบเติมน้ำมันอากาศยานทางท่อ 66.56 ล้านบาท ปรับปรุงอาคารเดิมเป็นอาคารผู้โดยสารภายในประเทศ 551.2 ล้านบาท อาคารคลังสินค้า 88.4 ล้านบาท อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศใหม่ 2,288 ล้านบาท อาคาร GSE & OM 30.16 ล้านบาท อาคารสำนักงาน ทภก. 126.88 ล้านบาท อาคารบำรุงรักษา และ คลัง 17.68 ล้านบาท อาคารดับเพลิงและกู้ภัย 60.32 ล้านบาท อาคารจอดรถยนต์ 458.64 ล้านบาท ระบบถนน 270.4 ล้านบาท ระบบสาธารณูปโภค 262.08 ล้านบาท งานศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม 32 ล้านบาท งานจ้างที่ปรึกษาบริหารโครงการ 72 ล้านบาท เปิดให้บริการ ก.พ. 58 วงเงินรวม 5,791.122 ล้านบาท 27

  23. แผนพัฒนาท่าอากาศยานแม่สอดแผนพัฒนาท่าอากาศยานแม่สอด 1. ขยายทางวิ่ง รองรับเครื่องบินขนาดใหญ่ขึ้น 2. ก่อสร้างอาคารผู้โดยสารใหม่ Education/Training Contract Farming เชียงใหม่ ลำปาง พิษณุโลก ย่างกุ้ง ท่าอากาศยานแม่สอด ทวาย

  24. การจัดหาเครื่องบินของ บกท. • จัดซื้อเครื่องบินบรรทุกผู้โดยสาร • และสินค้ารวม 75 ลำ • วงเงิน 457,127 ล้านบาท แบ่งเป็น • ระยะที่ 1 ปี 54-60 จำนวน 37 ลำ • ระยะที่ 2 ปี 61-65 จำนวน 38 ลำ • เมื่อสิ้นสุดโครงการ บกท. • จะมีเครื่องบินในฝูงบิน 122 ลำ • ดัดแปลงเครื่องบินบรรทุกสินค้า (Freighter) B747-400 จำนวน 2ลำ • ให้บริการแล้ว • วงเงินประมาณ 1,400 ล้านบาท • บรรทุกสินค้าได้ 100 ตันต่อเที่ยวบิน • จะจัดหาเครื่องบิน • บรรทุกสินค้า • อีก 3 ลำ • ระหว่างปี 55-58 28

  25. ระบบการเดินอากาศในอนาคตNew Air Traffic Management โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการการเดินอากาศของ บวท. ปีงบประมาณ 2554 – 2556 วงเงิน 4,460.31 ล้านบาท เปลี่ยนถ่ายเทคโนโลยีการเดินอากาศจากเรดาร์เป็นระบบดาวเทียมเพื่อรองรับการจราจรได้มากขึ้น 29

  26. ความท้าทายในอนาคต • หลายประเทศแข่งขันเพื่อเป็นศูนย์กลางการบิน(Hub) • ประเทศเพื่อนบ้านเร่งพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และลดการพึ่งพาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยมีเที่ยวบินตรงสู่ต่างประเทศมากขึ้น • ความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Mutual Cooperation) เพื่อผลักดันให้ไทยเป็น Hub 30

  27. www.otp.go.th

More Related