1 / 79

สถานการณ์และแนวโน้มปัญหาการบริโภคยาสูบในประเทศไทย

สถานการณ์และแนวโน้มปัญหาการบริโภคยาสูบในประเทศไทย. นายแพทย์ชัย กฤติยาภิ ชา ตกุล. ยาสูบ เป็น มหันต ภัย ทางสุขภาพที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติ. ผู้อำนวยการใหญ่ องค์การอนามัยโลก.

Télécharger la présentation

สถานการณ์และแนวโน้มปัญหาการบริโภคยาสูบในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์และแนวโน้มปัญหาการบริโภคยาสูบในประเทศไทยสถานการณ์และแนวโน้มปัญหาการบริโภคยาสูบในประเทศไทย นายแพทย์ชัย กฤติยาภิชาตกุล

  2. ยาสูบ เป็นมหันตภัยทางสุขภาพที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติ ผู้อำนวยการใหญ่ องค์การอนามัยโลก

  3. การแก้ไขการระบาดของการเสพติดยาสูบการแก้ไขการระบาดของการเสพติดยาสูบ และการป่วยตายซึ่งสามารถป้องกันได้ดีนี้ ต้องจัดให้เป็นความจำเป็นลำดับสูงสุดของ ผู้นำทางการเมืองและการสาธารณสุขของทุกประเทศทั่วโลก ผู้อำนวยการใหญ่องค์การอนามัยโลก

  4. บุหรี่เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของโลก ! • มากกว่าวิกฤตอื่นใดในโลก เป็นทั้งวิกฤตและภัยคุกคาม(จากธุรกิจยาสูบ) • เป็นสาเหตุของการตายปีละเกือบ6ล้านคน( 1 คนในทุก 6วินาที) • มากกว่าโรคเอดส์ อุบัติเหตุจราจร และวัณโรค รวมกัน

  5. วิกฤตจากความรุนแรง และอุบัติเหตุ การตายจากการบาดเจ็บทุกประเภทรวมกันทั่วโลก Road traffic Incidents   1, 260, 000   Suicide 815, 000   Interpersonal violence 520, 000   Drowning 450, 000   Poisoning 315, 000   War and conflict 310, 000   Falls   283, 000   Burns 238, 000   (รวมปีละ = 4.2 ล้านคน = น้อยกว่าการตายจากยาสูบ) การตายจากยาสูบปีละเกือบ 6ล้านคน

  6. สาเหตุการตาย 10 อันดับนำของโลกส่วนใหญ่เป็นโรคที่มีบุหรี่เป็นเหตุ World Deathsinmillions % of deaths Coronaryheartdisease7.20 12.2 Stroke and other cerebrovascular diseases5.7 19.7 Lowerrespiratoryinfections 4.18 7.1 Chronic obstructive pulmonary disease 3.02 5.1 Diarrhoealdiseases2.16 3.7 HIV/AIDS2.043.5 Tuberculosis1.46 2.5 Trachea, bronchus, lung cancers1.32 2.3 Roadtrafficaccidents1.27 2.2 Prematurity and low birth weight 1.182.0

  7. ปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ(NCD)หลัก 4 โรค 9

  8. การเสียชีวิตของคนไทยจากโรคไม่ติดต่อ(NCD)หลัก 4 โรคพ.ศ.2552 คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554 จำนวนผู้เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ =415,900 คน กว่า 50%จาก 4 โรค โรคมะเร็ง = 80,711 คน โรคเส้นเลือดสมอง = 50,829 คน โรคเส้นเลือดหัวใจ =34,384 คน โรคเบาหวาน = 26,380 คน ถุงลมโป่งพอง =18,660 คน รวม= 210,964คน มีสาเหตุจากการสูบบุหรี่ = 50,700 คน เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 56,960 คน = 27% 10

  9. เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 15,831 = 31.2% แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดัชนีประเมินภาระโรคและสุขภาพของประชากรไทย สำนักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2554 11

  10. ปัจจุบันทั่วโลก มีผู้สูบบุหรี่ ประมาณ 1,300 ล้านคน • จำนวนครึ่งหนึ่งของผู้เสพจะตายด้วยโรคจากยาสูบ • ในจำนวนผู้ที่ตายจากโรคที่เกิดจากยาสูบปีละ 5 ล้านกว่าคน 6 แสนคนไม่ได้เสพ แต่ได้รับควันจากผู้อื่น • จำนวนผู้เสพยาสูบรวมทั่วโลกกำลังเพิ่มขึ้น แม้ลดลงในประเทศพัฒนาแล้วส่วนหนึ่ง แต่เพิ่มขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา • ระบบการค้าเสรี ทำให้การค้ายาสูบขยายตัวรวดเร็วในประเทศกำลังพัฒนาด้วยข้อตกลงทางการค้า

  11. องค์การอนามัยโลกระบุว่า บุหรี่จะฆ่าคนได้ถึงพันล้านคนในศตวรรษนี้ แต่สามารถป้องกันและลดได้ดีกว่าวิกฤตอื่นใดทั้งหมด หากทุกประเทศดำเนินการจริงจัง

  12. พ.ศ.2548 WHOจัดทำอนุสัญญาควบคุมยาสูบ องค์การอนามัยโลก Framework Convention on Tobacco Control (FCTC) กำหนดให้การเสพติดบุหรี่ เป็นการป่วยที่โรงพยาบาลต้องให้การรักษาและ รายงานในรายงานสถิติโรคสากล ICD 10

  13. อนุสัญญาควบคุมยาสูบ องค์การอนามัยโลกFramework Convention on Tobacco Control (FCTC)พ.ศ.2548 ปัจจุบันมี 177 ประเทศเป็นรัฐภาคี มีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม ข้อกำหนดของอนุสัญญาฯ 15

  14. ยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบWHO : MPOWERStrategy 1. Monitoring tobacco control - monitor สถานการณ์ระบาดวิทยาและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกลยุทธของธุรกิจยาสูบ - monitor สถานการณ์การควบคุมยาสูบ การบริหารจัดการและการดำเนินการ 2.Protect people from tobacco smoke ทำให้ไม่มีการสูบในที่ห้ามสูบตามกฏหมาย 3.Offer help to quit smoking บริการช่วยผู้สูบให้เลิกสูบ ทุกกลุ่มประชากรผู้สูบ 4. Warning people about harmful effect of tobacco use - การมีภาพคำเตือนบนซองยาสูบ - การสื่อสารทุกรูปแบบเพื่อเตือนประชาชน 5.Enforce ban on advertising, promotion and sponsorship & CSRทุกรูปแบบ 6.Raise tax on tobacco product ขึ้นภาษี เพื่อขึ้นราคายาสูบ

  15. การประชุมซัมมิทผู้นำประเทศ UNกันยายน 2554มีมติให้การควบคุมโรคไม่ติดต่อเป็นประเด็นสำคัญเร่งด่วนของ UNที่ประเทศสมาชิกต้องเร่งดำเนินการการควบคุมยาสูบซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของ NCD จึงเป็น priority ที่ทุกประเทศต้องเร่งดำเนินการ เนื่องจาก NCD เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่ง 17

  16. Indicators and Target for NCDs Prevention & Control by 2025 30 % reduction in smoking prevalence 30 % reduction in salt intake 25 % reduction in hypertension 10 % reduction of physical inactivity 25 % reduction in premature death from NCDs

  17. สถานการณ์ปัญหายาสูบในประเทศไทยสถานการณ์ปัญหายาสูบในประเทศไทย - ผลการดำเนินงานควบคุมยาสูบของประเทศไม่เกิด impact เท่าที่คาดหวัง - อัตราการใช้ยาสูบไม่ลดลงเท่าที่ควร หลังจากรณรงค์ต่อเนื่องมา กว่า30 ปี - คนไทยยังสูบบุหรี่ถึง 13ล้านคน อัตราสูบบุหรี่ในชายยังสูงถึง 46.6 % - อัตราการใช้ยาสูบในกลุ่มเยาวชนและสตรีกลับเพิ่มขึ้น

  18. อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป แบ่งตามเพศ 20

  19. Thailand

  20. ผลการศึกษาภาระโรคในประเทศไทย 2552 ปัจจัยเสี่ยง * * ที่มา Bundhamcharoen et al, Economic Burden From Smoking Related Diseases in Thailand in 2009 22

  21. กว่า 50%ของผู้สูบต้องการเลิก แต่เลิกไม่ได้ การสำรวจการสูบบุหรี่ระดับโลก 23

  22. ผู้สูบบุหรี่ที่พยายามเลิกในปี พ.ศ.2554 = 4.7 ล้านคน การสำรวจการสูบบุหรี่ระดับโลก พ.ศ.2554 24

  23. คณะรัฐมนตรี เห็นชอบมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ : มาตรการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้านยาสูบ วันที่ 17 เมษายน 2555 อนุมัติแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ 2555-2557 วันที่ 12 มิถุนายน 2555 - ลดอัตราการสูบบุหรี่ลง 10%จากปี 2552 - ควบคุมการบริโภคยาสูบชนิดอื่นไม่ให้เพิ่มขึ้น 25

  24. ยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ 8 ยุทธศาสตร์ 1. ป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 2. บริการช่วยเลิกสูบ 3. ลดพิษภัยของผลิตภัณฑ์ยาสูบ 4. สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ 5. เสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาขีดความสามารถในการ ดำเนินการควบคุมยาสูบ 6. ควบคุมยาสูบผิดกฎหมาย 7. มาตรการทางภาษี 8. เฝ้าระวังอุตสาหกรรมยาสูบ

  25. จุดอ่อนของการควบคุมยาสูบของประเทศไทยจุดอ่อนของการควบคุมยาสูบของประเทศไทย บังคับใช้กฎหมายควบคุมยาสูบขาดประสิทธิภาพ ระบบการช่วยให้เลิกบุหรี่ขาดประสิทธิภาพ การรณรงค์ทำในวงจำกัด เข้าไม่ถึงกลุ่มเป้าหมาย ขาดการดำเนินการที่เป็นระบบที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย หน่วยงาน/กลไกควบคุมยาสูบระดับพื้นที่อ่อนแอ ระบบภาษียาสูบยังมีปัญหา ตามไม่ทันกลยุทธการตลาดของบริษัทบุหรี่ การระบาดของยาสูบผิดกฎหมาย (บุหรี่ปรุงรส บารากู่ บุหรี่ไฟฟ้า) การแทรกแซงนโยบายสาธารณะโดยบริษัทบุหรี่ 27

  26. แนวคิดและทิศทางการควบคุมยาสูบของประเทศแนวคิดและทิศทางการควบคุมยาสูบของประเทศ • เน้นการใช้พื้นที่เป็นฐาน โดยใช้โครงการจังหวัดปลอดบุหรี่ ดำเนินการทั่วทั้งจังหวัด เขตเมืองและชนบท • ดำเนินการอย่างเป็นระบบ ใช้ setting approach เช่น สถานที่ราชการและสถานที่ทำงานปลอดบุหรี่ สถานประกอบการปลอดบุหรี่ โรงพยาบาลปลอดบุหรี่ โรงเรียนปลอดบุหรี่ ตลาด ร้านอาหารปลอดบุหรี่ ชุมชนปลอดบุหรี่ ฯลฯ • โครงการจังหวัดปลอดบุหรี่ เป็นกลยุทธเชิงรุกเพื่อการควบคุมยาสูบแบบ บูรณาการที่มุ่งสู่ความสำเร็จในการควบคุมสถานการณ์ทางระบาดวิทยา • เครือข่ายองค์กรต่างๆ ร่วมสนับสนุนการดำเนินการ

  27. การควบคุมยาสูบต้องทำให้ครอบคลุมกิจกรรมตามมาตรการหลักของยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบ ที่สำคัญในพื้นที่ คือ - การป้องกันเยาวชนจากการเป็นนักสูบหน้าใหม่ - ช่วยคนสูบให้เลิกสูบให้ได้ และ - ทำให้ทุกพื้นที่ปลอดบุหรี่ตามที่กฏหมายกำหนด

  28. การป้องกันวัยรุ่นและเยาวชนไม่ให้เป็นนักสูบหน้าใหม่ • สถานการณ์การดำเนินการ ปัจจุบัน โรงเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ดำเนินการเท่าที่ควร • 2556 การลดจำนวนนักสูบหน้าใหม่ เป็น KPI ใหม่ของกระทรวง สาธารณสุข • ให้โรงเรียนทำโครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องโดยครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วม

  29. การดำเนินการโรงเรียน/สถานศึกษาปลอดบุหรี่ ต้องมีการดำเนินการดังนี้ • มีนโยบายและแผนงานปลอดบุหรี่ของโรงเรียน/สถานศึกษา • มีการจัดตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงานที่ชัดเจน • มีการดำเนินการจัดให้เป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย • มีการประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักอย่างต่อเนื่องผ่านระบบสื่อสารของโรงเรียน • มีการเรียนการสอนเรื่องยาสูบทั้งในและนอกหลักสูตร • ต้องไม่มีการสูบบุหรี่ในบริเวณโรงเรียนทั้งในเวลาราชการและในโอกาสจัดกิจกรรมต่างๆที่ใช้พื้นที่โรงเรียน • ไม่มีการขายบุหรี่ในโรงเรียน • มีการเฝ้าระวังป้องกันการสูบบุหรี่ของนักเรียนทั้งในโรงเรียน และนอกโรงเรียนโดยสารวัตรนักเรียน/แกนนำนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เป็นต้น • มีการจัดการช่วยเหลือบำบัดผู้ติดบุหรี่อย่างเหมาะสม • ติดตาม กำกับ และจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการฯ

  30. การจัดบริการช่วยเลิกยาสูบการจัดบริการช่วยเลิกยาสูบ - สถานการณ์ปัจจุบัน ยังมีการจัดบริการน้อย ไม่ทุก ร.พ. - ขาดนโยบายที่จริงจัง ขาดระบบและการจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ - คลินิกเลิกบุหรี่ มีผู้รับบริการน้อยมาก เมื่อเทียบกับจำนวนผู้สูบ - ผู้รับบริการ ขาดความต่อเนื่อง เลิกสูบไม่ได้ - ผู้ป่วยโรคที่เกี่ยวข้อง ไม่ได้รับคำแนะนำ/ช่วยเหลือให้เลิก

  31. FCTC Article 14 Tobacco Dependenc Treatment

  32. ความต้องการบริการช่วยเลิกยาสูบความต้องการบริการช่วยเลิกยาสูบ ประเทศไทย 60% ของ13 ล้านคน = 7 ล้าน 8แสนคน ที่ต้องการเลิกยาสูบ จังหวัดละ = ? ปัจจุบันมีการจัดบริการ=? มีผู้ได้รับบริการ=? จำเป็นต้องเร่งรัดพัฒนาการจัดบริการช่วยเลิกยาสูบอย่างไร??

  33. Thailand Smoking prevalence in major NCDs (%) Male Female • Diabetes =38.71.9 • Hypertension =31.32.4 • Heart disease =18.72.4 • Stroke =22.73.6 • COPD =32.05.6 Thailand’s 4th National Health Examination ,2009.

  34. สถานพยาบาลปลอดบุหรี่เป็น KPI ใหม่ของกระทรวงสาธารณสุข • ทุกพื้นที่ของโรงพยาบาลต้องปลอดบุหรี่ 100%ตามกฎหมาย • ต้องมีบริการช่วยเลิกบุหรี่อย่างเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ (การอบรมและจัดตั้งคลีนิคช่วยเลิกบุหรี่อย่างเดียวไม่ได้ผล เพราะมีผู้ใช้บริการน้อยเมื่อเทียบกับจำนวนผู้สูบ) • ต้องทำเชิงรุกทั้งโรงพยาบาล • มีระบบส่งต่อและติดตามผู้รับบริการ

  35. การจัดบริการช่วยเลิกยาสูบ ของโรงพยาบาล • มีนโยบายและแผนการพัฒนาระบบบริการเลิกยาสูบของสถานพยาบาลและชุมชน • มีคณะทำงานรับผิดชอบ /ดำเนินการตามแผน และเชื่อมโยงการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม • มีการคัดกรองผู้สูบบุหรี่ในผู้ป่วยนอก (OPD) ทุกราย • มีการให้บริการแนะนำช่วยเลิกยาสูบในคลินิกโรคเรื้อรังเช่นDM HT โรคปอด หัวใจ TB เป็นต้น และ/หรือคลินิกช่วยเลิกยาสูบ และในแผนกผู้ป่วยใน(IPD)ตามบริบทของสถานพยาบาล • มีระบบข้อมูล/รายงานการดำเนินงานช่วยเลิกยาสูบของสถานพยาบาล • มีบริการแนะนำและช่วยเลิกยาสูบในชุมชน โดยอาสาสมัครที่ผ่านการอบรม รวมทั้งระบบการส่งต่อ • มีการจัดบริการช่วยเลิกยาสูบผ่านช่องทางต่างๆ ในพื้นที่ที่สามารถดำเนินการได้ เช่น ทางโทรศัพท์ (สถานีวิทยุของ โรงพยาบาล สถานีวิทยุ สสจ.) • มีการติดตามผลการให้บริการช่วยเลิกยาสูบ

  36. ทำให้ทุกพื้นที่ของโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ 100% ตามที่กฏหมายกำหนด เกณฑ์การดำเนินการของโรงพยาบาลในสังกัดและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 1. เขตปลอดบุหรี่ 1.1 มีป้ายประกาศโรงพยาบาลเป็นเขตปลอดบุหรี่ถาวรด้านหน้าโรงพยาบาล 1.2 มีเครื่องหมายเขตปลอดบุหรี่ 1.2.1 ทางเข้า-ออก ของโรงพยาบาล (ตั้งแต่ประตู/รั้ว/ขอบเขตของสถานที่เห็นเด่นชัด) 1.2.2 ภายในอาคารของโรงพยาบาล 1.2.3 ห้องสุขา (ทั้งด้านในและด้านหน้า) 1.2.4ยานพาหนะส่วนกลาง 1.3 ไม่มีผู้สูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่ 2. ไม่มีการกระทำ ดังนี้ 2.1 การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบในโรงพยาบาล 2.2 การโฆษณา และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ยาสูบในโรงพยาบาล 2.3การรับการอุดหนุนหรือสนับสนุนด้านการเงินและสิ่งอื่นๆจากอุตสาหกรรมยาสูบ/โรงงานยาสูบ

  37. 3. มีการเฝ้าระวังและบังคับใช้กฎหมาย 3.1มีการกำหนดให้เจ้าหน้าที่ดูแลรับผิดชอบตรวจตราในจุดเสี่ยงที่อาจพบการละเมิด 3.2มีการประชาสัมพันธ์โรงพยาบาลเป็นเขตปลอดบุหรี่อย่างต่อเนื่อง 3.3มีการให้ความรู้เกี่ยวกับโทษพิษภัยของบุหรี่แก่ผู้มารับบริการในโรงพยาบาลอย่าง ต่อเนื่อง 3.4มีมาตรการดำเนินการทางกฎหมายในกรณีมีการละเมิดกฎหมาย 4. มีนโยบาย 4.1คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน /มอบหมายงาน / ผู้รับผิดชอบ 4.2มีการจัดทำและดำเนินงานตามแผนโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ 4.3มีการให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเลิกบุหรี่หรือการส่งต่อในการบำบัดรักษาหรือมี คลินิกเลิกบุหรี่ 4.4 มีนโยบายสนับสนุนให้บุคลากรในโรงพยาบาลเลิกบุหรี่เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี 4.5 มีการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของบุคลากรในโรงพยาบาลและสนับสนุนให้เกิดการ เลิกสูบบุหรี่

  38. โรงพยาบาลปลอดบุหรี่ เป็นตัวชี้วัดในมาตรฐานระบบ HAและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (HPH PLUS) เป็นเป้าหมายและตัวชี้วัดของจังหวัดปลอดบุหรี่

  39. ตัวอย่างโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ตัวอย่างโรงพยาบาลปลอดบุหรี่

  40. Smoke-free Royal Ottawa Hospital The key factors that contribute to their success include: - having an Internal Task group working at engaging patients in the planning of a 100% smoke-free policy - smoking cessation support offered to staff and patients; - collaboration with security staff and community partners.

  41. Smoke-free Queensway-Carleton Hospital Ottawa  Some of the factors that contribute to this success : - using the Ottawa Model to help patients who smoke - training staff to provide smoking cessation counselling; - senior management’s support and leadership; - training and education to all security groups on the issue of tobacco control on campus

  42. Tobacco-free Hospital Campuses In Chicago, most of hospitals are implementing tobacco-free hospital policies. Nationwide, more than 2,700 state hospitals, healthcare systems and clinics have tobacco- free campus grounds.

  43. On hospital campuses tobacco-free environments: - Reduce exposure to the health hazards of smoking and improved health of patients, employees and visitors - Decrease maintenance costs - Increase credibility of hospitals as an advocate and role model for healthy lifestyles - Lead to higher smoking cessation among patients - Decrease employee smoking prevalence and lower direct and indirect costs, including additional health care and insurance costs, lost productivity, absenteeism, property damage and maintenance costs

  44. โรงพยาบาลตากสินปลอดบุหรี่ 100% พญ. กิตติยา ศรีเลิศฟ้า ผู้อำนวยการโรงพยาบาลตากสิน

  45. การดำเนินกิจกรรม ด้านนโยบาย ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมเป็นเขตปลอดบุหรี่ 100% ด้านการส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ ด้านการขยายผลลงสู่ชุมชน

  46. ด้านนโยบาย 1. แต่งตั้งคณะกรรมการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ โรงพยาบาลตากสิน (จำนวน 24 คน) 2. แต่งตั้งคณะทำงานรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่(แกนนำ) โรงพยาบาลตากสิน จากหน่วยงานต่าง ๆ (จำนวน 63 คน)

  47. ด้านนโยบาย ( ต่อ ) 3. จัดทำนโยบายโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ 100% 3.1 โรงพยาบาลตากสิน เป็นเขตปลอดบุหรี่ 100% 3.2 ผู้บริหารและบุคลากรในโรงพยาบาลตากสินทุกระดับ เป็นตัวอย่างที่ดีในการไม่สูบบุหรี่ 3.3 ผสมผสานการดำเนินงานโรงพยาบาลปลอดบุหรี่เข้ากับ การบริการสร้างเสริมสุขภาพ และการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล 3.4 บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการตักเตือน เมื่อพบเห็น ผู้สูบบุหรี่ในเขตโรงพยาบาล

  48. ด้านนโยบาย ( ต่อ ) 3.5 บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ 3.6 บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรม การรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ 3.7 จัดสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล ให้เอื้อต่อการไม่สูบบุหรี่ 3.8 สนับสนุน ให้กำลังใจผู้ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่

More Related