1 / 28

สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย

การสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึง การเป็นประชาคมอาเซียน. สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย. ASEAN Factsheet. สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์. สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997

remedy
Télécharger la présentation

สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียนการสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย

  2. ASEAN Factsheet • สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999 ประชากร – 620 ล้านคน (ปี 2555) อันดับ 3 ทั่วโลก พื้นที่ - 4.5 ล้าน ตาราง กม. ศาสนาหลัก - อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู GDP รวม - 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ การค้ารวม - 1.8 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ

  3. จุดเริ่มต้นของอาเซียนจุดเริ่มต้นของอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 -รมว.กต. อินโดนีเซีย (นายอาดัม มาลิก) -มาเลเซีย (ตุน อับดุล ราซัก บิน ฮุสเซน) -ฟิลิปปินส์ (นายนาซิโซ รามอส) -สิงคโปร์ (นายเอส ราชารัตนัม) -ไทย (พันเอก ถนัด คอมันตร์) ลงนาม ใน “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration) สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย

  4. หลักการพื้นฐานของอาเซียนหลักการพื้นฐานของอาเซียน • การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ (Consensus) • การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน (Non-interference) • การร่วมมือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน (Prosperity) สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย

  5. วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน • เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก • เพื่อสันติภาพ เสถียรภาพและความมั่นคง • เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน • พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม • ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่างประเทศต่างๆ สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย

  6. สามเสาหลักของประชาคมอาเซียนสามเสาหลักของประชาคมอาเซียน

  7. บทบาทของไทยต่อพัฒนาการของอาเซียนบทบาทของไทยต่อพัฒนาการของอาเซียน • การก่อตั้งอาเซียน+ปฏิญญากรุงเทพฯ ปี 2510 • การส่งเสริมความมั่นคงของภูมิภาคในช่วงสงครามเย็น (ARF) • FTA การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน • การลดช่องว่างด้านการพัฒนาในบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียน(IAI) • กฎบัตรอาเซียนปี 2550-2551 (3 เสา) • ความเชื่อมโยงในภูมิภาคอาเซียน ASEAN Connectivity • การร่วมมือสาขาต่างๆ อาทิ การเงิน/ความมั่นคงทางอาหาร/การศึกษา/ภัยพิบัติ/อาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น

  8. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community: APSC) -ส่งเสริมการสร้างสันติภาพและความมั่นคง+กลไกสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจของอาเซียน ป้องกันความขัดแย้งโดยใช้การทูตเชิงป้องกันและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง -สร้างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกันด้านประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน -สร้างความรับผิดชอบร่วมกันในการสร้างความมั่นคงที่ครอบคลุมรอบด้าน เช่น ปัญหายาเสพติด / โรคระบาด / ภัยพิบัติธรรมชาติ / อาชญากรรมข้ามชาติ/การค้ามนุษย์/การฟอกเงิน

  9. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEANEconomic Community-AEC) จัดตั้ง (CMIM) การสำรองแลกเปลี่ยนเงินต่างประเทศเพื่อเป็นกลไกความร่วมมือทางการเงิน 1.เป็นตลาดและฐานผลิตร่วม : เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ ทุน แรงงานและเงินทุนอย่างเสรี นรม.อานันท์ ปันยารชุน เป็นผู้ผลักดันการจัดตั้ง AFTA ในปี พ.ศ. 2535 2.สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน เช่น นโยบายภาษี/พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ส่งเสริมการลดช่องว่างด้านพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน (IAI) 3.พัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค-ลดช่องว่างสมาชิกเก่า/ใหม่+สนับสนุน SMEs 4.บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก-ปรับนโยบาย ศก.+สร้างเครือข่ายการผลิตและจำหน่าย Ex.หาฐานการผลิตใหม่ การคบค้ากับตลาดโลก+จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค

  10. อาเซียนจะได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้นอาเซียนจะได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น • การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ 7 สาขา วิศวกร แพทย์พยาบาล สถาปนิก นักสำรวจ นักบัญชี ทันตแพทย์ และ • อีก 1 สาขาบริการคือ ท่องเที่ยว MRAs : เป็นข้อตกลงยอมรับร่วมของนักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆ ได้ แต่ยังคงต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในประเทศนั้นๆ MRAs ไม่ได้เป็นการเปิดตลาด แต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาตการทำงาน โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือหาความรู้ทางวิชาชีพเท่านั้น Note: 12 สาขา เร่งรัดการรวมตัว ท่องเที่ยว สินค้าเกษตร สินค้าประมง ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์ไม้ ยาง สิ่งทอ การบิน อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ลอจิสติกส์

  11. การดำเนินการตามแนวทางกรอบ ASEAN Economic Community-AEC ของไทยโดยมียุทธศาสตร์ 8 ประการ ดังนี้ 6.สร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของประชาคมอาเซียนให้กับในทุกๆภาคส่วน 1.เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการและการลงทุน+ส่งเสริมการลงทุนในต่างประเทศ ปรับปรุงมาตรฐานการผลิต เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน 2.การพัฒนาคุณภาพชีวิต+ให้ความคุ้มครองทางสังคม+ส่งเสริมให้ประชาชนมีสภาพแวดล้อมควาเป็นอยู่ที่มั่นคงปลอดภัย 7.เสริมสร้างความมั่นคง เน้นความร่วมมือด้านชายแดนทางบก+ทะเล และสร้างฐานข้อมูล 3.พัฒนาโครงสร้างขั้นพื้นฐาน+โลจิสติกส์ เพื่อความเชื่อมโยงและเพื่อรองรับกฎระเบียบรวมไปถึงความสะดวกในการค้าการลงทุน 8.เพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงสมาชิกอาเซียนในด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การลงทุน เช่น เมืองหลวง เมืองการเกษตร เมืองการท่องเที่ยว เมืองชายแดน+Green City เพื่อเป็นยุทธศาสตร์ในการสร้าง Branding 4.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้มีทักษะผีมือและภาษา โดยภาครัฐได้มอบหมายให้ สำนักงาน กพ.เตรียมจัดทำแผนการพัฒนาทุนมนุษย์ดังกล่าว 5.การพัฒนากฎหมายและระเบียบเพื่อความสะดวกในการลงทุน+เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของประเทศและนักลงทุน

  12. การเปิดเสรีด้านการบริการการเปิดเสรีด้านการบริการ มีการแบ่งการให้บริการเป็น 4 รูปแบบ ตามรูปแบบการค้าบริการ (Mode) กล่าว คือ Mode 3 :Commercial Presence การจัดตั้งหรือลงทุน ยังต่างประเทศ Mode 1 : Cross Border Supply การบริการข้ามพรมแดน Mode 2 : Consumption Abroad การบริโภค+การบริการในต่างประเทศ เช่น รักษาพยาบาล/ การศึกษา เป็นต้น Mode 4 :Presence Of Natural Persons การเคลื่อนย้าย/การให้บริการของผู้ประกอบวิชาชีพในกลุ่ม MRA สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย

  13. ASEAN-Connectivity • ปัจจัยสำคัญสู่การรวมตัวทางเศรษฐกิจ • TH.  Mainland of SEA. • Master plan on ASEAN Connectivity มีขึ้นเพื่อสำหรับเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐานของแต่ละประเทศ + ด้านกฎระเบียบ ข้อบังคับ ด้านการค้าการลงทุน การขนส่ง การข้ามเขตแดน + ด้านประชากร การแลกเปลี่ยนการศึกษาและวัฒนธรรมร่วมกัน

  14. ข้อมูลจาก : กระทรวงการต่างประเทศ

  15. ข้อมูลจาก : กระทรวงการต่างประเทศ

  16. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) • มุ่งเน้นการให้อาเซียนเป็นสังคมที่มีเอกภาพ มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีความเป็นอยู่ที่ดี พัฒนาในทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม

  17. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) 4.ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม+จัดการทรัพยากรธรรมชาติ+จัดการปห.ด้านสิ่งแวดล้อม 1.การพัฒนามนุษย์ : บูรณาการการศึกษา+ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม+ส่งเสริมด้าน ICT 2.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม: ขจัด ค.ยากจน?+ส่งเสริม ค.มั่นคงและปลอดภัยด้านอาหาร+ควบคุมโรคติดต่อ 5.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน-ค.รู้สึกเป็นเจ้าของวัฒนธรรมร่วมกัน+ความรู้สึกเป็นประชาคม 3.ส่งเสริมความยุติธรรมและลัทธิทางสังคม: คุ้มครองผู้ด้อยโอกาส+แรงงานย้ายถิ่น ส่งเสริม CSR ขององค์กรธุรกิจ 6.เน้นการลดช่องว่าง ของการพัฒนาระหว่างปท.กลุ่มสมาชิกเก่าและกลุ่ม CLMV

  18. ประเด็นท้าทายของอาเซียนประเด็นท้าทายของอาเซียน ความแตกต่างด้านเชื้อชาติ ศาสนา ระดับการพัฒนา+การก่อการร้าย+อาชญากรรมข้ามชาติ ความผันผวนของระบบเศรษฐกิจโลก วิกฤติเศรษฐกิจและการจัดทำ FTA การขาดแคลนทรัพยากร แรงงาน ตลาด เงินทุน ทุนมนุษย์+การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ การแข่งขันของกลุ่มประเทศมหาอำนาจ จีน สหรัฐ รัสเซีย ญี่ปุ่น อินเดีย+โลกไร้พรมแดน ความแตกต่างของระบบการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม+ค.มั่นคงทางอาหารและพลังงาน ผลประโยชน์แห่งชาติ VS ผลประโยชน์ภูมิภาค ท้องถิ่น+การคอรัปชั่น

  19. ผลกระทบของประชาคมอาเซียนผลกระทบของประชาคมอาเซียน โลกเทคโนโลยีการสื่อสารไร้พรมแดน ICT +Social Media บทบาทของประเทศใหม่ สังคมเปิด สินค้า เงินทุน แรงงาน นอกระบบอาจเพิ่มขึ้น พลังงานและวัตถุดิบที่จำกัด สังคมผู้สูงอายุ โรคระบาดที่อาจแพร่กระจายได้ง่ายขึ้น กฎหมายกฎระเบียบใหม่

  20. THANk YOU

  21. สมาคมอาเซียน-ประเทศไทยสมาคมอาเซียน-ประเทศไทย โทร. 02-203-5000 ต่อ 44202-4 aseanthailand@hotmail.com www.aseanthailand.org

More Related