2.78k likes | 5.46k Vues
การวัดผลและประเมินผล การเรียนรู้. กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน E-mail:curriculum2551@gmail.com Website:www.curriculum51.net Tel:02-288-5771. รู้อะไรบ้าง........... ? เรื่องการวัดและประเมินผล
E N D
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน E-mail:curriculum2551@gmail.com Website:www.curriculum51.net Tel:02-288-5771
รู้อะไรบ้าง...........? เรื่องการวัดและประเมินผล การเรียนรู้
แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เข้าใจในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • ตระหนักในการดำเนินงานวัดและประเมินผล • การเรียนรู้ • จัดทำระเบียบโรงเรียน ว่าด้วยการวัดและ • ประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลาง • การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑
การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดการสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัด และประเมินผลการเรียนรู้ • การกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ • การวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ • การตรวจสอบทบทวนหลักฐานการเรียนรู้ • การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดและ • ประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียน • การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ • การวางแผนการประเมินรายวิชาและการตรวจสอบ • การใช้ตัวชี้วัด • การออกแบบการวัดและประเมินผลหน่วยการเรียนรู้ • การให้ข้อมูลย้อนกลับและการบันทึกผลการประเมิน • เพื่อพัฒนา • การประเมินผลปลายปี/ปลายภาค
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียน • การประเมินการอ่าน • คิดวิเคราะห์ และเขียน • การประเมินคุณลักษณะ • อันพึงประสงค์
แนวปฏิบัติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เปรียบเทียบการวัดและประเมินผลเปรียบเทียบการวัดและประเมินผล หลักสูตรฯ 51 หลักสูตรฯ 44 การวัดและ ประเมินผล ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ตามผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง เกณฑ์ การจบ สพฐ.กำหนดเกณฑ์แกนกลาง เป็นข้อกำหนดอย่างน้อย สถานศึกษา กำหนด
หลักสูตรฯ 51 เกิดผลดีกับผู้เรียนอย่างไร? แก้ไขพัฒนาผู้เรียนได้ ตาม ศักยภาพ การตรวจสอบคุณภาพ มีความ ชัดเจน ลดภาระงาน เรื่องเอกสารรายงานผล สะดวกในการเทียบโอน ระหว่างสถานศึกษา
หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ หลักการพื้นฐานของ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน
หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร ? เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) ระดับชั้นเรียน ระดับ การประเมิน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับชาติ
หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) พัฒนาผู้เรียนเต็มศักยภาพ ภาระความรับผิดชอบ ในการพัฒนาผู้เรียน บนพื้นฐาน ของข้อมูลการประเมิน ตอบสนองตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ทันท่วงที
หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) การตัดสิน การให้ระดับ และการรายงานผลการเรียน การเลื่อนชั้นและการซ้ำชั้น เกณฑ์การวัด และ ประเมินผลการเรียน เกณฑ์การจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) ระเบียนแสดงผลการเรียน ปพ.1 เอกสาร หลักฐานการศึกษา ประกาศนียบัตร ปพ.2 แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา ปพ.3
หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) การเทียบโอนผลการเรียน การจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและ ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา
วิธีการและเครื่องมือ การใช้ผลการประเมิน มาตรฐานเดียวกัน กำหนดนโยบาย เพื่อการตัดสินใจ จัดสรรทรัพยากร ข้อสอบมาตรฐาน โดยหน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย ระดับชาติ ยกระดับคุณภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สพท. • ข้อสอบมาตรฐาน(ครูจัดทำ) ระดับ สพท. • ตรวจสอบทบทวนคุณภาพ ประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับสถานศึกษา • ประเมินคุณภาพผู้เรียนทุกชั้น พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา • เก็บ/วิเคราะห์ข้อมูลหลักสูตร • โครงการจัดการเรียนการสอน ประกันคุณภาพภายใน ข้อมูลย้อนกลับ ระดับชั้นเรียน • เป็นทางการ/ ไม่เป็นทางการ • ประเมินผล ย่อย/รวม • ประเมิน สภาพจริง/การปฏิบัติ • การทดสอบ,ประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน • ปรับปรุง/พัฒนาผู้เรียน • ปรับการสอน • ตัดสินผลการเรียน • สื่อสารกับผู้ปกครอง
โครงการสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลสำหรับผู้เรียนกลุ่มต่าง ๆ • การวัดและประเมินผล • ระดับชั้นเรียน • สถานศึกษา • เขตพื้นที่ • ชาติ 1. กลุ่มเด็กที่มีพรสวรรค์ 2. กลุ่มผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนต่ำ 3. กลุ่มปัญหาวินัยและ พฤติกรรม 4. กลุ่มปัญหาทางการแพทย์ 5. ฯลฯ วัด/ประเมินด้วย วิธีการที่หลากหลาย การนำผล การประเมินไปใช้
การวัดและการประเมินเพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนการวัดและการประเมินเพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลังการพัฒนา ระหว่างกระบวนการพัฒนา คุณภาพที่ต้องการที่ 1 คุณภาพที่ต้องการที่ 2 ก่อนพัฒนา คุณภาพที่ต้องการที่ 3 ลักษณะที่ไม่ต้องการ
การตัดสินผลการเรียน อ่านคิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลาเรียน 80% ตัวชี้วัด ทุกรายวิชา ได้รับการตัดสิน
การให้ระดับผลการเรียนรายวิชาการให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา • ให้ระดับผลการเรียนเป็น • ระบบตัวเลข • ระบบตัวอักษร • ระบบร้อยละ • ระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน ให้ระดับผลการเรียนเป็น ระบบตัวเลข 8 ระดับ
การให้ระดับผลการเรียน การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระดับการประเมิน ดีเยี่ยม ผ่าน ดี ไม่ผ่าน
การให้ระดับผลการเรียน ผลการประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ระดับการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน
การรายงานผลการเรียน ต้องสรุปผลการเรียนรายงานให้ผู้ปกครองทราบความก้าวหน้า • เป็นระยะ ๆ หรือ • ภาคเรียนละ 1 ครั้งเป็นอย่างน้อย
เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษาเกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา • เรียนตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด • ผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น • เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 63 หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด • ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 63 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 14 หน่วยกิต • ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย • เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 39 หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด • ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 39 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 38 หน่วยกิต • ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
เอกสารหลักฐานการศึกษาเอกสารหลักฐานการศึกษา • เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด • ระเบียนแสดงผลการเรียน • ประกาศนียบัตร • แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา • เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด
การเทียบโอนผลการเรียนการเทียบโอนผลการเรียน • ดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก • ผู้เรียนต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน • การเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา/จำนวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม • การพิจารณาการเทียบโอน ให้ดำเนินการ ดังนี้ • พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ • พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ • พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง
นำข้อกำหนดด้านการวัดสู่การปฏิบัติได้อย่างไรนำข้อกำหนดด้านการวัดสู่การปฏิบัติได้อย่างไร เป้าหมายที่หลักสูตรต้องการ ความคิดร่วม ขณะนี้ รร.อยู่ ณ จุดใด
การนำสู่การปฏิบัติ • จัดทำนโยบาย รูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สถานศึกษา • กำหนดเกณฑ์การประเมิน การผ่านตัวชี้วัด • จัดทำแนวปฏิบัติและเกณฑ์การประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • กำหนดกระบวนการตัดสินผลการเรียน • กำหนดแนวปฏิบัติการอนุมัติการเลื่อนชั้น การเลื่อนชั้นระหว่างปี การซ้ำชั้น ฯลฯ • กำหนดภารกิจครูผู้สอน • จัดทำคู่มือครู คู่มือนักเรียน • ฯลฯ
1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ และประเมินผลระหว่างเรียน 2. กระบวนการสอนซ่อมเสริม และประเมินผล 1 ไม่ผ่าน 2 วัดผลภาคเรียนที่ 1 3. กรรมการพิจารณา 4. เรียนซ้ำชั้น ผ่าน ครบ เวลาเรียน เหตุสุดวิสัย ไม่ครบ ปลายปี ไม่ผ่าน 3 เหตุไม่สมควร ผ่าน 2 4 นักเรียน 1 ได้ผลการเรียน เลื่อนชั้น/จบระดับชั้น แผนภูมิแสดงการประเมินผลการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ และประเมินผลระหว่างเรียน นักเรียน 2. - กระบวนการสอนซ่อมเสริม - เงื่อนไข/เกณฑ์ 1 ไม่ผ่าน 3. กระบวนการแก้ “0” สอบแก้ตัว 2 ครั้งไม่ผ่านเรียนซ้ำรายวิชา วัดผลกลางภาค 2 ผ่าน 4. กระบวนการแก้ “ร” “มผ” และ “มส” 1 ครบ เวลาเรียน วัดผลปลายภาค ไม่ครบ “ร” 0 “มผ” “มส” ได้ระดับผลการเรียน1-4 3 4 4 4 เลื่อนชั้นจบระดับชั้น แผนภูมิแสดงการประเมินผลการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
“ร” สุดวิสัย ได้ ๑ - ๔ ได้ “๐” ได้ “๑” แก้“ร” ผ่าน “ร” ไม่ใช่สุดวิสัย ได้ ๑ แก้ตัวได้อีก ๑ ครั้ง ได้ “ร” สอนซ่อมเสริม/สอบแก้ตัว ไม่แก้ “ร” ภายใน ๑ ภาคเรียน ไม่เข้าวัดผลปลายภาค ได้ “๐” ได้ “๑” ได้ “๐” ได้ “๑” สอนซ่อมเสริม/ สอบแก้ตัว สอบแก้ตัว ถ้าจะแก้ “๐” ยื่นคำร้อง เรียนซ้ำเพิ่มเติมเวลาเรียนครบ ได้ “๑-๔” ได้ “๐” ๖๐%<เวลาเรียน<๘๐% เวลาเรียน < ๖๐% ตัดสินผล การเรียน ได้ “มส” วัดผลปลายภาคเรียน แก้ “ร” เรียบร้อย อนุญาต ไม่อนุญาต ได้ “ร” ไม่แก้ “มส” ภายใน ภาคเรียนนั้น ไม่แก้ “ร” ภายในภาคเรียนนั้น ดุลยพินิจ ผู้บริหารสถานศึกษาเห็นชอบ มีเวลาเรียน ๘๐% มีเวลาเรียนไม่ถึง ๘๐% วัดผลระหว่างภาค ส่งงานไม่ครบ ไม่เข้าสอบกลางภาค เรียน เรียนซ้ำ เรียนซ้ำ แผนภาพที่ ๒.๕แสดงกระบวนการตัดสินและแก้ไขผลการเรียนระดับมัธยมศึกษา
โครงสร้างของระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาโครงสร้างของระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา ส่วนหน้า ปก คำนำ สารบัญ ตอนที่ 1 ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตอนที่ 2 คำอธิบายระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการวัดและประเมินผล การเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตอนที่ 3 อื่นๆ (ถ้ามี) - เอกสารหลักฐานที่สถานศึกษาต้องจัดทำหรือตัวอย่าง - ระเบียบคำสั่งที่เกี่ยวข้อง
โครงสร้างของระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา (ต่อ) ตอนที่ 1 ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่วนแรก ประกาศการใช้ระเบียบ หมวดที่ 1หลักการวัดและประเมินผลการเรียน หมวดที่ 2 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน หมวดที่ 3 เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน หมวดที่ 4 การเทียบโอนผลการเรียน หมวดที่ 5 เอกสารหลักฐานการศึกษา หมวดที่ 6 บทเฉพาะกาล
ครุฑ ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551โรงเรียน...................................... โดยที่โรงเรียน.......................... ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 293 / 2551 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และกระจายอำนาจให้สถานศึกษากำหนดหลักสูตรสถานศึกษาขึ้นใช้เอง เพื่อ ให้สอดคล้องกับคำสั่งดังกล่าวฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความใน มาตรา 21 และ มาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียน.................................................... จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการประเมินผล การเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ปีการศึกษา 2552 เป็นต้นไปข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบข้อบังคับหรือคำสั่งอื่นใดในส่วนที่กำหนดไว้ ในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบ นี้แทนข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียน.....................................ข้อ 5 ให้ประธานคณะกรรมการสถานศึกษารักษาการให้เป็นไปตาม ระเบียบนี้
ขอขอบคุณ กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน E-mail:curriculum2551@gmail.com Website:www.curriculum51.net Tel:02-288-5771