1 / 53

การกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างาน

การกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างาน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต. นนทิกร กาญจนะจิตรา. การกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างาน. 1. การวิเคราะห์งาน ( Job Analysis). 2. การกำหนดหน้าที่งาน ( Job Description). 3. การประเมินค่างาน ( Job Evaluation).

reuel
Télécharger la présentation

การกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต นนทิกร กาญจนะจิตรา

  2. การกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างาน 1. การวิเคราะห์งาน (Job Analysis) 2. การกำหนดหน้าที่งาน (Job Description) 3. การประเมินค่างาน (Job Evaluation) 4. การจัดโครงสร้างตำแหน่งแบบกว้าง (Boardbanding) 5. การปรับปรุงระบบจำแนกตำแหน่ง

  3. การวิเคราะห์งาน JOB ANALYSIS

  4. การวิเคราะห์งาน : ความหมาย คือกระบวนการในการจัดรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะงาน  หน้าที่ความรับผิดชอบ  ลักษณะเฉพาะของบุคคลที่เหมาะสมกับงาน ความรู้  ความสามารถ ทักษะ องค์ประกอบอื่นๆ

  5. การวิเคราะห์งาน : วัตถุประสงค์  การวางแผนกำลังคน  การสรรหาและการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน  การประเมินค่างานและการกำหนดค่าตอบแทน  มาตรฐานงานที่ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน  การอบรมและพัฒนาบุคคล  การจัดเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย

  6. การเตรียมการ What + Why การศึกษาข้อมูลขั้นพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์งาน : ขั้นตอนในการวิเคราะห์งาน การกำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้ข้อมูล การเลือกงานที่จะทำการวิเคราะห์ การกำหนดประเภทและขอบเขตของข้อมูล การกำหนดความรับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม : ทบทวนทำความเข้าใจข้อมูลพื้นฐานที่มี เช่น ผังองค์กร คุณลักษณะของชั้นตำแหน่งงาน รายละเอียดลักษณะงาน : การออกแบบเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ออกแบบเพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับหน้าที่ ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ มาตรฐานการปฏิบัติงาน ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ :

  7. การวิเคราะห์งาน : ขั้นตอนในการวิเคราะห์งาน (ต่อ) ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลของงานอย่างละเอียด ตลอดจนความรู้ ความสามารถ ทักษะเพื่อทำงานนั้นๆ โดยใช้แบบสอบถามหรือสัมภาษณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการวิเคราะห์งาน : Job description นำข้อมูลที่ได้มาจัดระเบียบ เรียบเรียงเป็น “แบบหน้าที่/แบบบรรยายลักษณะงาน” : Job specification นำผลการวิเคราะห์มาจัดทำ “รายละเอียดคุณสมบัติที่ต้องการ :

  8. การวิเคราะห์งาน Job Standard Job Description Job Specification

  9. การวิเคราะห์งาน : ประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน 1.สามารถนำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์งานมาประเมินสภาวะ แวดล้อมต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่องานที่พนักงานแต่ละคนทำ 2. สามารถจำแนกงานที่ไม่จำเป็นออก เพื่อประโยชน์ต่อการจ้างงานขององค์กร 3. ช่วยให้ค้นพบองค์ประกอบต่างๆ ของงานที่เอื้ออำนวยต่อคุณภาพชีวิตในการทำงาน 4. ใช้วางแผนความต้องการทรัพยากรบุคคลในอนาคต 5. สามารถจัดกลุ่มบุคคลตามประเภทงานที่องค์กรต้องการได้

  10. การวิเคราะห์งาน : ประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน 6.สามารถจัดทำแนวทางการพิจารณาจัดอบรมพนักงาน 7. ใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดแผนงานเพื่อพัฒนาศักยภาพพนักงาน 8. ใช้เป็นแนวทางกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน 9.ใช้ประโยชน์ในการบรรจุพนักงานตามทักษะของแต่ละบุคคล 10. ใช้เป็นกรอบในการพิจารณาค่าตอบแทนในการทำงานให้เป็นไปอย่างยุติธรรม

  11. การกำหนดหน้าที่งาน JOB DESCRIPTION

  12. การกำหนดหน้าที่งาน JOB DESCRIPTION คือ เอกสารที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับงาน ประกอบด้วยข้อเท็จจริงที่เห็นได้ชัด (Objectives facts) ที่อธิบายให้ทราบว่า งานนั้นคืออะไร มีหน้าที่งานเฉพาะอย่างไร ความรับผิดชอบอะไรบ้าง

  13. วัตถุประสงค์ในการจัดทำแบบกำหนดหน้าที่งาน เพื่อการสร้างข้อตกลงอย่างเป็นทางการระหว่างผู้บริหารขององค์การ และผู้ใต้บังคับบัญชาที่จะกำหนดขอบเขตของ  เนื้อหางาน รายละเอียดในการปฏิบัติงานในตำแหน่งนั้นๆ กำหนดคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน (Job Specification) - ความรู้ - ความสามารถ - ประสบการณ์ - ทักษะ - คุณลักษณะ/พฤติกรรม

  14. ตัวอย่าง ของสำนักงาน ก.พ. (เดิม)  แบบกำหนดหน้าที่งาน/แบบบรรยายลักษณะงาน ชื่อตำแหน่ง  ตำแหน่งประเภท  หน้าที่ความรับผิดชอบ  ลักษณะงานที่ปฏิบัติ  คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ความรู้ความสามารถที่ต้องการ

  15. ประโยชน์ของการจัดทำแบบกำหนดหน้าที่งานประโยชน์ของการจัดทำแบบกำหนดหน้าที่งาน 1)สามารถกำหนดลักษณะงานและจำแนกงาน (Job Identification) ได้อย่างชัดเจน 2) สามารถสรุปงาน (Job Summary) เพื่อให้ผู้ดำรงตำแหน่งปฏิบัติงานตาม ที่องค์การกำหนด 3) ทราบความสัมพันธ์ของผู้ดำรงตำแหน่งงาน (Job Holder) กับบุคลคคลอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ 4) ทราบหน้าที่และความรับผิดชอบของตำแหน่งงาน รวมทั้งอำนาจหน้าที่ของ ผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งนั้น ๆ 5) ทราบมาตรฐานของการปฏิบัติงาน (Standard of Performance) ของ ตำแหน่งงานต่าง ๆ 6) ทราบสภาพการทำงานและสภาแวดล้อมทางกายภาพของตำแหน่งงานนั้นๆ 7) ทราบรายละเอียดคุณสมบัติของผู้ที่จะต้องปฏิบัติงานในตำแหน่งงานนั้น ๆ

  16. การกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างาน การประเมินค่างาน JOB EVALUATION Job Evaluation www.ocsc.go.th

  17. ความหมายของการประเมินค่างานความหมายของการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th “การประเมินค่างาน เป็นวิธีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ เพื่อตีค่างาน โดยเป็นกระบวนการวัดความสัมพันธ์หรือคุณค่างานของตำแหน่ง ที่ไม่ใช่วัดปริมาณงาน ซึ่งเป็นการนำงานทั้งหมดมา เปรียบเทียบกันภายใต้ปัจจัยหรือองค์ประกอบ ที่เป็นตัววัดหลักเพื่อตีค่างานออกมา”

  18. การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน ทำไมต้องมีการประเมินค่างาน หลัก Equal pay for Work of Equal value เพื่อกำหนดระดับตำแหน่งสำหรับ การจ่ายค่าตอบแทน ให้ผู้ปฏิบัติงานอย่างเป็นธรรม

  19. การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 1 มีการกำหนดตำแหน่งขึ้นใหม่ในหน่วยงาน 3 2 ต้องจัดระดับตำแหน่งเพื่อกำหนดค่าตอบแทนที่เป็นธรรม หน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพงานเปลี่ยนไป Job Evaluation www.ocsc.go.th เมื่อไหร่ต้องมีการประเมินค่างาน

  20. การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th กระบวนการประเมินค่างาน วินิจฉัย ตีค่างาน (คณะกรรมการ) ค่างาน ยอมรับได้ Acceptable มีความยุติธรรม Felt-Fair

  21. หลักการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 1 2 3 4 5 ต้องเข้าใจงาน – ต้องมีการวิเคราะห์งาน ประเมินที่งาน - มิใช่ตัวบุคคลที่ครองตำแหน่ง มีมาตรฐาน - ต้องสะท้อนกับงานปัจจุบันและสอดคล้องกับระดับตำแหน่ง ไม่มีอคติ – เก็บข้อมูล วิเคราะห์และตีค่างานอย่างเป็นธรรม ตรวจสอบให้แน่ใจ - ตรวจสอบความสัมพันธ์ทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง

  22. ขั้นตอนการประเมินค่างานขั้นตอนการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th ขั้นศึกษา ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นนำเสนอ

  23. การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th ข้อมูลประกอบการพิจารณาประเมินค่างาน

  24. การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างานการกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน ความหมายของคำที่ควรทราบ ลักษณะงาน การพิจารณา ความหมายของ คำที่เกี่ยวข้อง ปริมาณงาน หน้าที่และ ความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุ่งยากของงาน

  25. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน - วิธีการจัดลำดับงาน (Job Ranking Method) - วิธีการจับเปรียบเทียบ (Paired Comparison Method) - วิธีการจัดชิ้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading หรือ Job Classification Method) - วิธีการให้คะแนนองค์ประกอบ (Point Rating Methods) - วิธีการเปรียบเทียบองค์ประกอบ (Factor Comparison Method)

  26. วิธีการจัดลำดับงาน (Job Ranking Method) : เรียงลำดับความสำคัญของงาน รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เมื่อจัดลำดับแล้ว

  27. วิธีการจัดเปรียบเทียบ (Paired Comparison Method) : เปรียบเทียบตำแหน่งงานเป็นคู่ๆ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 3 – ความสำคัญสูงกว่า 2 – ความสำคัญเท่ากัน 1 - ความสำคัญน้อยกว่า

  28. วิธีการจัดเปรียบเทียบ (Paired Comparison Method) : เปรียบเทียบตำแหน่งงานเป็นคู่ๆ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 3 – ความสำคัญสูงกว่า 2 – ความสำคัญเท่ากัน 1 - ความสำคัญน้อยกว่า

  29. 3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) : กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน

  30. 3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) :กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เป็นงานระดับต้นที่ต้องการผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาที่สามารถเรียนรู้และพัฒนาขึ้นได้ ปฏิบัติงานอยู่ใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ โดยมีคู่มือแนวทางปฏิบัติ หรือขั้นตอนการทำงานที่เป็นมาตรฐาน

  31. 3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) :กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เป็นงานที่ปฏิบัติโดยผู้มีประสบการณ์ในวิชาชีพสามารให้คำแนะนำผู้ปฏิบัติงานระดับต้นได้ มีการแก้ปัญหาและใช้ความคิดริเริ่มบ้างตามแนวทางที่หน่วยงานกำหนดมีการกำกับแนะนำตรวจสอบในบางกรณี

  32. 3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) :กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เป็นงานที่ปฏิบัติโดยผู้รอบรู้ชำนาญการในสายงานวิชาชีพนั้น มีการนำทฤษีแนวคิดมาปรับใช้ในงานที่ซับซ้อนได้มีการวางแผน ควบคุม ติดตาม และมอบหมายงาน ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาปรับแนวทางในการทำงานได้

  33. 3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) :กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เป็นงานที่ปฏิบัติงานฐานะผู้เชี่ยวชาญในสายงานวิชาชีพ หรือมีบทบาทวางแผนติดตาม โครงการสำคัญๆ ให้คำปรึกษากับหน่วยงานปฏิบัติ มีความอิสระในการปรับแนวทางปฏิบัติและแก้ไขปัญหาตามกรอบนโยบาย

  34. 3. วิธีการจัดชั้นงานหรือจำแนกงาน (Job Grading/Job Classification Method) :กำหนดระดับหรือนิยามงานไว้แล้วพิจารณาเปรียบเทียบจัดระดับ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน เป็นงานระดับสูงสุดของวิชาชีพ ที่ต้องปฏิบัติในฐานะผู้นำทางวิชาการเฉพาะด้าน มีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ผลการดำเนินงานอยู่ในระดับการวางกลยุทธ์ขององค์กร

  35. 4. วิธีการให้คะแนนองค์ประกอบ (Point Rating Method) : พิจารณางานภายใต้องค์ประกอบที่กำหนดไว้ และมีการกำหนดหน่วยวัดมาตรฐานไว้ รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน กระบวนการ วิธีการให้ คะแนน องค์ประกอบ รูปแบบการวัด/ ประเมิน การเทียบระดับ ตำแหน่ง www.ocsc.go.th

  36. 4. 1 กระบวนการให้คะแนนองค์ประกอบ – ได้แก่ การกำหนดองค์ประกอบ การกำหนดน้ำหนักคะแนน และการกำหนดระดับคะแนน รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน กระบวนการ วิธีการให้ คะแนน องค์ประกอบ รูปแบบการวัด/ ประเมิน การเทียบระดับ ตำแหน่ง www.ocsc.go.th

  37. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน Job Evaluation Job Evaluation www.ocsc.go.th 4.1.1 การกำหนดองค์ประกอบที่จะให้คะแนน : ปัจจัยสำคัญของงานที่แสดงถึงความรับผิดชอบ ความยุ่งยาก และคุณภาพงาน

  38. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th 4.1.2 การกำหนดน้ำหนักของคะแนน : เพื่อพิจารณางานตรงกับธรรมชาติของงาน

  39. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 4.1.3 การกำหนดระดับของคะแนน : เป็นการจัดหน่วยวัดโดยกำหนดค่าคะแนนเป็นระดับ

  40. 4.2 รูปแบบการวัดหรือประเมินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ องค์ประกอบการวัดไม่สัมพันธ์กัน และองค์ประกอบการวัดที่สัมพันธ์กัน รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน กระบวนการ วิธีการให้ คะแนน องค์ประกอบ รูปแบบการวัด/ ประเมิน การเทียบระดับ ตำแหน่ง www.ocsc.go.th

  41. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th 4.2.1 องค์ประกอบการวัดไม่สัมพันธ์กัน

  42. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 4.2.2 องค์ประกอบการวัดที่สัมพันธ์กัน www.ocsc.go.th

  43. 4.2 รูปแบบการวัดหรือประเมินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ องค์ประกอบการวัดไม่สัมพันธ์กัน และองค์ประกอบการวัดที่สัมพันธ์กัน รูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน กระบวนการ วิธีการให้ คะแนน องค์ประกอบ รูปแบบการวัด/ ประเมิน การเทียบระดับ ตำแหน่ง www.ocsc.go.th

  44. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 4.3 ตารางเทียบระดับตำแหน่ง www.ocsc.go.th

  45. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th • วิธีการเปรียบเทียบองค์ประกอบ (Factor Comparison Method) : พิจาราณางานภายใต้องค์ประกอบที่กำหนดไว้เป็นมาตรฐาน

  46. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน 7x25% 10x20% 6x35% 1x10% 1x10%

  47. รูปแบบและวิธีการประเมินค่างานรูปแบบและวิธีการประเมินค่างาน การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th ค่าคะแนนรวมของพนักงานแปล คือ (7x25%) + (1x10%) + (10x20%) + (6x35%) + (1x10%) = 6.05

  48. วิธีการประเมินค่างานที่ ก.พ. นำมาใช้ การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน องค์ประกอบ การประเมิน กำหนด ค่าคะแนน Job Evaluation www.ocsc.go.th ความรู้และทักษะที่จำเป็นในงาน การคิดและการตัดสินใจแก้ปัญหา ภาระความรับผิดชอบของงาน ประยุกต์ Hay Guide Chard Point Rating Method เกณฑ์การกำหนด ระดับตำแหน่ง • ตำแหน่งบริหารและบังคับบัญชา • ตำแหน่งไม่ใช่บริหารและบังคับบัญชา

  49. วิธีการประเมินค่างานที่ ก.พ. นำมาใช้ การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน Job Evaluation www.ocsc.go.th

  50. วิธีการประเมินค่างานที่ ก.พ. นำมาใช้ การกำหนดตำแน่งและการประเมินค่างาน องค์ประกอบ การประเมิน กำหนด ค่าคะแนน Job Evaluation www.ocsc.go.th ความรู้และทักษะที่จำเป็นในงาน การคิดและการตัดสินใจแก้ปัญหา ภาระความรับผิดชอบของงาน ประยุกต์ Hay Guide Chard Point Rating Method เกณฑ์การกำหนด ระดับตำแหน่ง • ตำแหน่งบริหารและบังคับบัญชา • ตำแหน่งไม่ใช่บริหารและบังคับบัญชา

More Related