730 likes | 835 Vues
แผนกลยุทธ์. สำนักงานสหกรณจังหวัดอุตรดิตถ์. กรมส่งเสริมสหกรณ์. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 1.1 หลักการและเหตุผล. บทที่ 1. บทนำ.
E N D
แผนกลยุทธ์ สำนักงานสหกรณจังหวัดอุตรดิตถ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1.1 หลักการและเหตุผล บทที่ 1 บทนำ • การดำเนินโครงการจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ข้าราชการลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ ดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ์ (แผน 3 ปี) ซึ่งจะเป็นไปในลักษณ์ของการจัดทำแผนพัฒนา โดยศึกษาถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด โดยทุกฝ่ายที่มีความเกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งนำไปสู่การสร้างกรอบทิศทางการพัฒนาองค์กร เพื่อกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกลยุทธ์ในการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดให้เกิดผลสัมฤทธิ์ สามารถสร้างความพึงพอใจให้เกิดแก่ผู้รับบริการได้
1.2.1 เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด • 1.2.2 เพื่อกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกลยุทธ์ในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ • 1.2.3 เพื่อจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (แผน 3 ปี) 1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • 1.3.1 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ จะมีกรอบแนวทางในการพัฒนาการ ปฏิบัติงานในระยะเวลา 3 ปี ซึ่งกรอบทิศทางการดำเนินงานจะมีความสอดคล้อง กับปัจจัยสภาพแวดล้อม • 1.3.2 กรอบทิศทางการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ของสำนักงานฯ จะส่งผลให้ การปฏิบัติงานมุ่งสู้ผลสัมฤทธิ์มากยิ่งขึ้น สามารถสร้างความพึงพอใจแก่ ผู้รับบริการได้ • 1.3.3 แผนกลยุทธ์จะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการให้มีระบบงาน และขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานที่ชัดเจน เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงานอันจะนำไปสู่การให้บริการที่ เป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ • 1.3.4 กระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์เปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ในการกำหนดกรอบทิศทางการพัฒนา อันจะนำไปสู่การปฏิบัติงานให้สามารถ บรรลุวิสัยทัศน์ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดได้
การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อม การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ โอกาส/อุปสรรค จุดอ่อน/จุดแข็ง วิสัยทัศน์ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ 1.4 วิธีการศึกษา • 1.4.1 การจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ จะดำเนินการตามกระบวนการในรูปที่ 1 และมีการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อม ดังรายละเอียดในรูปที่ 2 ภาพที่ 1 กระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์
ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก นโยบายรัฐ/การเมือง กฎหมาย ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน • - ภารกิจ/ความรับผิดชอบ/ตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน • โครงสร้างการบริหารงาน/ระบบงาน • แผนงาน/โครงการ - สำนักงาน • วัสดุ/อุปกรณ์ - งบประมาณ • ข้าราชการ - ลูกจ้างประจำ/พนักงานราชการ • ระเบียน/วิธีปฏิบัติงาน - การติดตามประเมินผล หน่วยงานรัฐอื่น สหกรณ์/ขบวนการสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร เทคโนโลยี/นวัตกรรม เศรษฐกิจ/สังคม/วัฒนธรรม ภาพที่ 2 ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่นำมาวิเคราะห์ใยการจัดทำแผนกลยุทธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์
บทที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อม 2.1 การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก • ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมในที่นี่จะชี้ให้เห็นโอกาส อุปสรรค จุดแข็ง และจุดอ่อนของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ เพื่อใช้ในการจัดทำแผนกลยุทธ์ต่อไป • การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกในที่นี้ประกอบด้วย การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมทั่วไป ได้แก่ กฎหมาย นโยบายรัฐ เศรษฐกิจ/สังคม/วัฒนธรรม และเทคโนโลยี/นวัตกรรม และการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการ ได้แก่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ หน่วยงานรัฐอื่น ๆ สหกรณ์/ขบวนการสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ซึ่งผลการวิเคราะห์มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมทั่วไปที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์
ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมทั่วไปที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)
ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์
ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)
ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์(ต่อ)
ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมดำเนินการที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)
2.2 การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน • การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ได้แก่ ภารกิจ/ความรับผิดชอบ แผนงาน โครงสร้างการบริหารงาน/ระบบงาน งบประมาณ ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ บุคลากรสำนักงาน วัสดุอุปกรณ์/เทคโนโลยี และการติดตามประเมินผล ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์
ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)
ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)
ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)
ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ (ต่อ)
บทที่ 3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ • จากการวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ดังรายละเอียดที่กล่าวไว้ในเรื่องผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อม และผลการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันระหว่างข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการในองค์กร ซึ่งได้ดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในขั้นตอนการจัดทำแผนกลยุทธ์ สรุปประเด็นในเรื่องวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ใน 3 ปี (2547-2549) งบประมาณข้างหน้าไว้ ดังนี้ วิสัยทัศน์ • “ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นผู้นำในการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้สามารถพึ่งตนเองตลอดจนเป็นที่พึ่งของมวลสมาชิกได้ ”
พันธกิจ • ส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เข้มแข็งและเป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ • ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ประชาชนทั่วไป • ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับด้านการจัดตั้ง การบริหารการจัดการองค์กรธุรกิจ การตลาดและการเชื่อมโยง • ส่งเสริม สนับสนุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการองค์กร และดำเนินธุรกิจให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร • บูรณาการแผนพัฒนางานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร • ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน • ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ • พัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการภายในองค์กร
พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ์ และหน่วยงานที่รับผิดชอบ ตารางที่ 4 พันธกิจที่ 1ส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เข้มแข็งและเป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์
ตารางที่ 4 พันธกิจที่ 1ส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เข้มแข็งและเป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ (ต่อ)
ตารางที่ 5พันธกิจที่ 2ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ประชาชน
ตารางที่ 6พันธกิจที่ 3 ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับด้านการจัดตั้ง การบริหารจัดการองค์กรธุรกิจ การตลาดและการเชื่อมโยง
ตารางที่ 7พันธกิจที่ 4ส่งเสริม สนับสนุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการองค์การ และดำเนินธุรกิจให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ตารางที่ 7พันธกิจที่ 4ส่งเสริม สนับสนุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการองค์การ และดำเนินธุรกิจให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (ต่อ)
ตารางที่ 8พันธกิจที่ 5 บูรณาการแผนพัฒนางานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ตารางที่ 9พันธกิจที่ 6 ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน
ตารางที่ 10 พันธกิจที่ 7ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
ตารางที่ 11พันธกิจที่ 8พัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการภายในองค์การ
ตารางที่ 11พันธกิจที่ 8พัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการภายในองค์การ (ต่อ)
แผนกลยุทธ์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 - 2555 วิสัยทัศน์ พันธกิจ • “ เป็นองค์กรหลักที่มุ่งพัฒนาระบบสหกรณ์ให้เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข” • สร้างค่านิยมและผลักดันระบบสหกรณ์ให้มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในการให้บริการแก่สมาชิกให้เกิดความพึงพอใจ • สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรร่วมกับคู่ค้าในการดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณภและเที่ยงธรรมตามความต้องการของลูกค้า
พันธกิจ (ต่อ) • สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีส่วนร่วมกับชุมชนในการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม • พัฒนาบุคลากรในระบบสหกรณ์ให้ร่วมมือและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ให้พึ่งพาตนเองได้และช่วยเหลือกันและกันมากขึ้น รวมทั้งการจัดที่ดินในเขตนิคมสหกรณ์ • พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง รวมทั้งเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ • สนับสนุนการดำเนินธุรกิจและการเชื่อมโยงเครือข่ายกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ ภายใต้กรอบของกฎหมาย • พัฒนาระบบการบริหารราชการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ให้เกิดธรรมาภิบาล และมีสมรรถนะสูง • พัฒนาบุคลากรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ให้มีความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุขในการปฏิบัติงาน
เป้าประสงค์ มิติ : ประสิทธิผล • มิติ : คุณภาพการให้บริการ • มีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ • มีส่วนร่วมในการสร้างวัฒนธรรมของประเทศตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สนับสนุนการบรรลุแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) • การใช้ระบบสหกรณ์พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้พึ่งพาตนเองได้ • พัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิก • ตอบสนองความต้องการของลูกค้าและตลาด
มิติ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ • สร้างแนวคิดใหม่ต่อบุคลากรในระบบสหกรณ์ • การปฏิบัติตามกรอบของกฎหมาย • พัฒนาระบบสหกรณ์อย่างเป็นกระบวนการ • ปรับปรุงการบริหารด้านเงินทุน • สร้างความเข็มแข็งในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร • การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
มิติ : การพัฒนาองค์กร • บริหารทิศทางกรมฯให้บรรลุผล • พัฒนาระบบธรรมาภิบาล • พัฒนาองค์ความรู้และระบบสารสนเทศเทคโนโลยี • พัฒนาระบบงานภายในกรมฯให้มีสมรรถนะสูง • สร้างวัฒนธรรมองค์กร • พัฒนาบุคลากร (มุ่งไปที่ตัวบุคคล) • ปรับปรุงการบริหารบุคลากร
ตัวชี้วัด มิติ : ประสิทธิผล • สัดส่วนของมูลค่าเพิ่มสินค้า/บริการในระบบสหกรณ์ • จำนวนแรงงงานในระบบสหกรณ์มีงานทำเปรียบเทียบกับภาพรวมของประเทศ • จำนวนสหกรณ์ที่เข้าร่วมกิจกรรมสารธารณประโยชน์ในสังคม • สัดส่วนการออมในระบบสหกรณ์ : การออมในประเทศ • จำนวนผู้มีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการองค์ความรู้ • ร้อยละของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ • ร้อยละของสมาชิกสหกรณ์ที่มีความอยู่ดีมีสุข
มิติ : คุณภาพการให้บริการ • ร้อยละของสมาชิกที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์ • ร้อยละของสมาชิกที่เพิ่มขึ้นในสหกรณ์ • จำนวนกิจกรรมของการมีส่วนร่วมของสหกรณ์ต่อชุมชน • ร้อยละของสมาชิกที่ดำเนินชีวิตตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • จำนวนกิจกรรมสวัสดิการของสหกรณ์ต่อสมาชิก • จำนวนสหกรณ์ที่มีสินค้าผ่านเกณฑ์คุณภาพและมาตรฐาน(เฉพาะสินค้า แปรรูป) • จำนวนสหกรณ์ที่มีคุณภาพการบริการที่ดีสมาชิกมีความพึงพอใจร้อยละ 60 • จำนวนสหกรณ์ที่มีภาพลักษณ์ที่ดี(ต่อคู่ค้าในแง่การทำธุรกิจ)
มิติ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ • จำนวนสมาชิกที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 60 ต่อปี • จำนวนสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี • จำนวนข้อร้องเรียนต่อนายทะเบียนสหกรณ์ลดลงร้อยละ 10 ต่อปี • จำนวนสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องลดลงร้อยละ 10 ต่อปี • จำนวนสมาชิก/ผู้แทนสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจำปีเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี • อัตรากำไรสุทธิจากการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี • อัตราการเพิ่มทุนดำเนินงานจากแหล่งทุนภายในของสหกรณ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี
มิติ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (ต่อ) • อัตราการเพิ่มการฝากเงินกับสหกรณ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี • อัตราการเพิ่มของมูลค่าทางธุรกิจสหกรณ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี • จำนวนสินค้า/ผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ได้การรับรองมาตรฐาน • จำนวนโรงเรียนที่นำกิจกรรมสหกรณ์มาใช้ในการเรียนการสอน • จำนวนเครือข่าย องค์กร หน่วยงาน ที่มีความร่วมมือปฏิบัติภารกิจร่วมกัน • ร้อยละของสมาชิกนิคมสหกรณ์ได้รับเอกสารสิทธิ์ในที่ดินทำกิน
มิติ : การพัฒนาองค์กร • จำนวนแผนบริหารทิศทางการส่งเสริมสหกรณ์ในระดับสหกรณ์ กรม ประเทศ • ร้อยละของข้อทักท้วงจากหน่วยงานตรวจสอบกลางที่เกี่ยวข้อง เช่น สตง. ลดลงเมื่อเทียบกับปีปัจจุบัน • จำนวนคลังความรู้ • จำนวนงานวิจัยที่นำไปเผยแพร่และใช้ประโยชน์ • จำนวนระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ • จำนวนระบบงานที่กระจายอำนาจ • จำนวนแผนการปรับโครงสร้างกรมฯ
มิติ : การพัฒนาองค์กร (ต่อ) • ร้อยละของบุคลากรที่ผ่านการอบรมตามแผนพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร • ร้อยละของบุคลากรที่ผ่านการพัฒนา • ร้อยละข้อร้องเรียนของบุคลากรลดลงเมื่อเทียบกับปีปัจจุบัน
กลยุทธ์ มิติ : ประสิทธิผล • การขับเคลื่อนระบบสหกรณ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับประเทศ • เพิ่มขีดความสามารถในการสร้างงานในระบบสหกรณ์ • รณรงค์ให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนในสังคม/ชุมชน • สร้างนิสัยรักการออมในหมู่สมาชิกและชุมชน • สร้างวาระแห่งชาติการออมในระบบสหกรณ์ • ผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกดำเนินการตามหลักปรัญชาของเศรษฐกิจพอเพียง • สร้างกลไกในการประเมินผลของระบบสหกรณ์ที่ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศโดยรวม
มิติ : ประสิทธิภาพการให้บริการ • เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของสหกรณ์ต่อชุมชนและท้องถิ่น • เสริมสร้างการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน • สนับสนุนให้สหกรณ์สร้างกิจกรรมสวัสดิการแก่สมาชิกให้เห็นความแตกต่างกับบุคคลทั่วไป • เพิ่มขีดความสามารถในการจัดการธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร • พัฒนาคุณภาพการส่งมอบคุณค่าสหกรณ์ (การบริหาร Value chain) • การสื่อสารงานสหกรณ์เชิงรุกและการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสหกรณ์แก่สาธารณะชน
มิติ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ • สร้างภาพลักษณ์ของงานสหกรณ์ให้เป็นที่เชื่อถือและได้รับการยอมรับจากบุคลากรในระบบสหกรณ์ • สนับสนุนและส่งเสริมให้สหกรณ์ดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกในกิจกรรม • เสริมสร้างศักยภาพในการดำเนินงานของสหกรณ์อย่างเป็นกระบวนการ (เครือข่ายความรู้ ความร่วมมือ และประสบการณ์) • เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการเงินของสหกรณ์ • สร้างความเข้มแข็งในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร • สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนาระบบงานสหกรณ์
มิติ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (ต่อ) มิติ : การพัฒนาองค์กร • สร้างวัฒนธรรมให้เกิดการเรียนรู้ในระบบสหกรณ์ • เพิ่มประสิทธิภาพการออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดินทำกินในเขตนิคมสหกรณ์ • สร้างแผนบริหารทิศทางสหกรณ์ระยะสั้น • สร้างแผนพัฒนาการสหกรณ์ระยะกลาง • พัฒนาระบบควบคุมภายใน • บริหารจัดการอย่างโปร่งใส • พัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
มิติ : การพัฒนาองค์กร • พัฒนางานวิจัยเพื่อนำไปใช้อย่างมีประสิทธิผล • พัฒนาระบบสารสนเทศแห่งการเรียนรู้ • พัฒนาระบบงานภายในกรมฯ ให้มีสมรรถนะสูง • สร้างวัฒนธรรมองค์กร • พัฒนาทรัพยากรบุคคลภายใต้แผนปฏิบัติราชการกรมฯ
สรุปแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2552 – 2555) กรมส่งเสริมสหกรณ์ 1. มิติประสิทธิผล • กลยุทธ์ที่ 1.1.1 การขับเคลื่อนระบบสหกรณ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับประเทศ • โครงการสร้างเครื่องมือและกำหนดมาตรฐานวัดมูลค่าของสินค้าและบริการในระบบสหกรณ์ • โครงการเก็บรวบรวมข้อมูลนำไปวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำข้อมูลไปจัดทำแผนพัฒนาระบบสหกรณ์แบบมีส่วนร่วม • โครงการจัดทำแผนพัฒนาแบบมีส่วนร่วมเพื่อผลักดันในการเพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการสหกรณ์ • โครงการผลักดันแผนพัฒนาแบบมีส่วนร่วมในการเพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการสหกรณ์สู่การปฏิบัติ
กลยุทธ์ที่ 1.2.1 เพิ่มขีดความสามารถในการสร้างงานในระบบสหกรณ์ • โครงการจัดทำแผนพัฒนาอาชีพเพื่อส่งเสริมการมีงานทำในระบบสหกรณ์ • โครงการเพิ่มการจ้างงานในระบบสหกรณ์เพื่อส่งเสริมการมีงานทำในสหกรณ์ • กลยุทธ์ที่ 1.3.1 รณรงค์ให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนในสังคม/ชุมชน • โครงการเผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ในชุมชนเพื่อพัฒนาระบบประชาธิปไตยอันเป็นรากฐานสำคัญของประเทศ • โครงการส่งเสริมและสร้างชุมชนต้นแบบระบบสหกรณ์(เมืองสหกรณ์)โดยบูรณาการกับหน่วยงานต่าง ๆ • โครงการส่งเสริมและสนับสนุนเวทีชาวบ้านในระบบกลุ่มเกษตรกร(สหกรณ์)ในทุกจังหวัด
กลยุทธ์ที่ 2.1.2 สร้างวาระแห่งชาติการออมในระบบสหกรณ์ • โครงการส่งเสริมและพัฒนาการออมในระบบสหกรณ์ • กลยุทธ์ที่ 2.2.1 ผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกดำเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • โครงการสร้างเครื่องมือและผลักดันการประเมินเพื่อให้ทราบสถานการณ์ของตนเองของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/สมาชิก • โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานกลุ่มเกษตรกรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง • โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร