1 / 16

การติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ กองทุนโลกด้านวัณโรครอบที่ 8 ผู้รับทุนรอง สำนักวัณโรค

การติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ กองทุนโลกด้านวัณโรครอบที่ 8 ผู้รับทุนรอง สำนักวัณโรค. สุดธิดา แก้วไพฑูรย์ กลุ่มงานบริหารจัดการโครงการกองทุนโลกด้านวัณโรค รอบที่ 8 สำนักวัณโรค 28 ธันวาคม 2552. หัวข้อนำเสนอ.

rico
Télécharger la présentation

การติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ กองทุนโลกด้านวัณโรครอบที่ 8 ผู้รับทุนรอง สำนักวัณโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการกองทุนโลกด้านวัณโรครอบที่ 8ผู้รับทุนรอง สำนักวัณโรค สุดธิดา แก้วไพฑูรย์ กลุ่มงานบริหารจัดการโครงการกองทุนโลกด้านวัณโรค รอบที่ 8 สำนักวัณโรค 28 ธันวาคม 2552

  2. หัวข้อนำเสนอ • ผลการดำเนินงานโครงการช่วงที่ 1 (กค.-กย.52) และ แนวทางการเร่งรัดผลสำเร็จตัวชี้วัด • ความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ ช่วงที่ 2 (ตค.-ธค. 52) • การบริหารจัดการโครงการ การเงินและการบัญชี • การจัดซื้อจัดจ้างกิจกรรมโครงการ ปีที่ 1 (หมวดที่ 4, 6 และ 7) • แผนการดำเนินงานกิจกรรมวัณโรคในชุมชน • ปัญหาอุปสรรค และประเด็นอื่นๆ • สรุป

  3. ผลการดำเนินงานตัวชี้วัด (PF) ช่วงที่1 และแนวทางการเร่งรัด

  4. ผลการดำเนินงานตัวชี้วัด (PF) ช่วงที่1 และแนวทางการเร่งรัด

  5. ผลการดำเนินงานตัวชี้วัด (PF) ช่วงที่1 และแนวทางการเร่งรัด

  6. ผลการดำเนินงานตัวชี้วัด (PF) ช่วงที่1 และแนวทางการเร่งรัด

  7. การเตรียมการกำกับ (Monitoring) กิจกรรมโครงการ ช่วงที่ 2

  8. การเตรียมการกำกับ (Monitoring) กิจกรรมโครงการ (ต่อ)

  9. การเตรียมการกำกับ (Monitoring) กิจกรรมโครงการ (ต่อ)

  10. การจัดทำรายงานการเงิน และบัญชี • PR สนับสนุน ง.ป.ม. ครั้งที่ 1 ให้สำนักวัณโรค จำนวนเงิน 43,998,161.18 บาท เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2552 • ยอดคงเหลือในสมุดบัญชีธนาคารจำนวนเงิน22ล้านบาท (ณ วันที่ 25 ธ.ค. 52) • รายละเอียดการใช้จ่าย งปม ตามหมวดกิจกรรมดังนี้

  11. การจัดทำรายงานการเงิน และบัญชี (ต่อ)

  12. การจัดซื้อจัดจ้างกิจกรรมโครงการ ปีที่ 1 (หมวดที่ 4, 6 และ 7) รายการ ดำเนินการแล้ว แผนดำเนินการ เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง ( 9,562,500.-) กล้องจุลทรรศน์ (573,750.- ) ยานพาหนะเพื่อใช้ในการติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ (5,950,000.-) ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์และวัสดุสำนักงาน (6,231,562.50) (รวม งปม ของ PGA & APW) อยู่ระหว่างดำเนินการลงประกาศทางเว็บไซด์ อยู่ระหว่างการอนุมัติจัดซื้อ และทำสัญญา อยู่ระหว่างการกำหนดคุณลักษณะ เพื่อเสนอกรมควบคุมโรคผ่านกองคลัง อยู่ระหว่างรอการอนุมัติจัดซื้อจากกองคลัง กรมควบคุมโรค เบิกจ่าย สิ้นเดือน มิย.53 เบิกจ่าย สิ้นเดือน มิย.53 เบิกจ่าย สิ้นเดือน มิย.53 เบิกจ่าย สิ้นเดือน มิย.53

  13. แผนการดำเนินงานวัณโรคในชุมชนแผนการดำเนินงานวัณโรคในชุมชน • สัญญาโครงการ (PGA) ระหว่างกรมควบคุมโรค และ สำนักวัณโรค จัดทำสัญญาฉบับใหม่ โดยเพิ่มเติมงบประมาณวัณโรคในชุมชน • สัญญาโครงการ (PGA) ระหว่างสำนักวัณโรค และ สคร. จัดทำสัญญาเพิ่มเติมสำหรับกิจกรรมวัณโรคในชุมชน โดยปัจจุบัน สคร. ได้รับสัญญาเพิ่มเติมฉบับร่างเพื่อพิจารณาแล้ว • สำนักวัณโรคดำเนินการลงนามสัญญาเพิ่มเติมให้ผู้รับทุนรอง เมื่อได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก PR กรมควบคุมโรค • การรายงานผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด 1.1 “จำนวนบันทึกข้อตกลง (ด้านวัณโรค) ที่ลงนามระหว่างอ.ป.ท.และสสจ.” และ ตัวชี้วัด 3.1 “จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคชนิดแพร่เชื้อทุกประเภท และ/หรือ ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอช ไอ วี มีผู้ดูแลการกินยาทุกวันด้วยวิธี DOT โดยชุมชน” รายงานตั้งแต่วันที่ 1 ตค. 52 เป็นต้นไป • การเบิกจ่ายงบประมาณโครงการกิจกรรมวัณโรคในชุมชน เบิกจ่ายได้ตั้งแต่ วันที่ 1 ต.ค 52

  14. ประเด็นท้าทาย • โครงการมีเจตนารมณ์ให้งบประมาณบางส่วนต้องบูรณาการกับงานปกติ เพื่อให้เกิดการลงทุนร่วมกัน (cost-sharing) แต่พื้นที่ต้องการให้กองทุนโลกรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมด เช่น การประชุม การอบรม และการนิเทศงาน • สสจ.ส่วนใหญ่ (56 แห่ง) ไม่เคยบริหารงบประมาณของกองทุนโลก ทำให้ไม่เข้าใจขั้นตอนการเบิก-จ่ายงบประมาณ ซึ่งสวร. ได้จัดทำเอกสาร Q&A และประชุมชี้แจง (หากมีการขอให้สนับสนุน) เช่น สคร. 10, มช., สคร. 6, สคร. 7,สคร. 11 และกำหนด สคร. 5 วันที่ 6 มค 53 นี้ • การนับผู้ป่วยในGF8 ให้ไม่ซ้ำซ้อนกับ WV เนื่องจากภูเก็ต ไม่ทราบว่าผู้ป่วยรายใดที่ WV รายงานให้กองทุนโลก ดังนั้นจึงรายงาน Non-Thai ทั้งหมดให้รอบที่ 8 ซึ่งสำนักวัณโรคมีแผนเพื่อจัดประชุมในทุกพื้นที่ซึ่ง WV ดำเนินการอยู่เพราะต้องการให้ WV ส่งรายงานของตนเองเข้าสู่ระบบปกติด้วย

  15. ประเด็นท้าทาย (2) • องค์ความรู้มีพัฒนาการ ในขณะที่การจัดทำโครงการใช้ความรู้ในปี 50-51 ทำให้เนื้อหา และงบประมาณของโครงการไม่สอดคล้องกับองค์ความรู้ปัจจุบัน เช่น วัณโรคในเด็ก (Index, targets < 18) และ MDR-TB (IC งปม.มีน้อยกว่าที่ GLCrecommendation, indicator of case-finding ไม่ควรรายงานทันทีในรอบ 3 เดือน เพราะยังไม่ทราบผล DST) เรือนจำ (WHO ปรับเปลี่ยนแนวทางการค้นหาในกลุ่ม new comers, current prisoners, contact investigation) เป็นต้น • หลายกิจกรรมของโครงการรอบที่ 8 เป็นกิจกรรมใหม่ที่ไม่ได้ระบุไว้ในแนวทางการเบิกจ่ายของกองทุนโลก เช่น คูปองพาหนะและอาหาร ค่าตรวจ CD4/HIV ค่าเยี่ยมบ้าน การจ้างเหมาบริการการตรวจสอบข้อมูลที่สสจ. เป็นต้น ทำให้ฝ่ายการเงินของพื้นที่ดำเนินงานบางแห่งไม่เห็นด้วยกับแนวทางการเบิกจ่ายที่สำนักวัณโรคกำหนดขึ้น เช่น สสจ. ฉะเชิงเทรา • กรม สบส ไม่สามารถร่วมดำเนินกิจกรรมของโครงการ ส่งผลให้หน่วยงานด้านควบคุมโรคซึ่งไม่มีความเชี่ยวชาญเรื่องชุมชน เป็นผู้ดำเนินการ

  16. สรุป • ตัวชี้วัดโครงการ ช่วงที่ 1 ไม่บรรลุเป้าหมายจำนวน 3 ตัวชี้วัด ซึ่งสำนักวัณโรคได้ดำเนินการเร่งรัดเพื่อเพิ่มผลการดำเนินงานสะสมในช่วงที่ 2 ให้บรรลุเป้าหมาย • สำนักวัณโรครายงานผลการดำเนินงานวัณโรคในชุมชน 2 ตัวชี้วัด ในรายงานช่วงที่ 2 (ต.ค. – ธ.ค. 52) ซึ่งได้แจ้งให้พื้นที่ทราบเรียบร้อยแล้ว • งบประมาณกิจกรรมวัณโรคในชุมชน เบิกจ่ายตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 เมื่อได้รับงบประมาณสนับสนุน

More Related