1 / 27

นายแพทย์บุญชัย สมบูรณ์สุข รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. แนวทางการพัฒนาศักยภาพ และเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ของอาสาสมัครสาธารณสุข ปี 2552. นายแพทย์บุญชัย สมบูรณ์สุข รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. นโยบายกระทรวงสาธารณสุข. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. เบนเข็มการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานจากรูปแบบที่

Télécharger la présentation

นายแพทย์บุญชัย สมบูรณ์สุข รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ แนวทางการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ปี 2552 นายแพทย์บุญชัย สมบูรณ์สุข รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

  2. นโยบายกระทรวงสาธารณสุขนโยบายกระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ • เบนเข็มการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานจากรูปแบบที่ • เน้นการให้บริการ ไปเน้นที่การพัฒนาเพื่อให้ชุมชนยืน • ได้ด้วยตัวเอง อันหมายถึงการสร้างสุขภาพโดยประชาชน • แทนการซ่อมสุขภาพด้วยบริการ • 2. ส่งเสริมให้หน่วยงานทุกระดับในกระทรวงสาธารณสุข • ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ที่สามารถสนับสนุนการดำเนินงาน • พัฒนาสุขภาพของประชาชนในระดับท้องถิ่น หรือ • ชุมชนได้ตามความเหมาะสม

  3. นโยบายกระทรวงสาธารณสุขนโยบายกระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 3. ให้ปรับปรุงและเชื่อมโยงตัวชี้วัดที่กำหนดโดยส่วนกลาง กับตัวชี้วัดที่กำหนดโดยแผนที่ยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ ให้สอดคล้องกัน 4. ใช้ตัวชี้วัดของแผนที่ยุทธศาสตร์ที่ปรับให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัดของ กพร. เป็นเครื่องมือในการติดตาม กำกับ ดูแล ของสำนักตรวจราชการ

  4. นโยบายกระทรวงสาธารณสุขนโยบายกระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 5. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาความสามารถของท้องถิ่น ชุมชนและกองทุนระบบประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือ พื้นที่ให้สามารถดำเนินการจัดการระบบสุขภาพชุมชนได้ ด้วยการสร้างนวัตกรรรมทางกระบวนการจัดการสุขภาพและ การเพิ่มทักษะการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ 6. ส่งเสริมการสร้างและจัดการนวัตกรรมในทุกระดับ หลากหลายรูปแบบ ทั้งนวัตกรรมบริหารจัดการ นวัตกรรม กระบวนการและรูปแบบบริการที่ส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็ง และพึ่งตนเองได้

  5. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔ ๑. คาดหวังให้เกิดชุมชนพึ่งตนเองได้ทางสุขภาพ ๒. มีองค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง มีความสามารถในการบริหารจัดการให้เกิด สุขภาวะในชุมชน ๓. ให้มีแผนชุมชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการทำงานร่วมกันของภาคีทุกฝ่าย ในการแก้ปัญหาสุขภาพ ๔. มีนวัตกรรมใหม่ๆในการทำงานสาธารณสุขมูลฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระดับชุมชนมีการจัดการความรู้ นวัตกรรมในระดับชุมชน ๕. เกิดทัศนคติและความเข้าใจที่ถูกต้องว่าอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) เป็นของชุมชน ไม่ใช่ของกระทรวงสาธารณสุข รัฐเป็นผู้สนับสนุนให้ อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) และชาวบ้านพึ่งตนเองได้

  6. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔ (ต่อ) ๖. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแสดงบทบาทหลักในการบริหารจัดการ สนับสนุนงานสาธารณสุขมูลฐาน ๗. อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) มีความเข้มแข็ง คิดเอง ทำเอง พึ่งตนเองได้ ๘. ให้อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) มีคุณภาพ มีเทคนิควิชาการที่จำเป็น ในการแก้ปัญหาของชุมชน มีทักษะทางสังคม มีบทบาทเป็นผู้นำการ เปลี่ยนแปลงและสามารถก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวสังคมในระดับ ต่างๆ เพื่อมุ่งสู่สังคมแห่งสุขภาวะได้ ๙. เกิดอาสาสมัครสาธารณสุขที่มีความหลากหลายมากขึ้น พัฒนาการ ไปสู่การเป็นอาสาสมัครเพื่อสังคม

  7. ความท้าทาย ๑. เน้นการพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายในระดับท้องถิ่น ให้มีความสามารถในการบริหารจัดการด้านสุขภาพ การพัฒนา ขีดความสามารถการบริหารจัดการของกองทุนสุขภาพระดับตำบลถือเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญ ประการหนึ่งของการสาธารณสุขมูลฐาน ในทศวรรษที่ 4 สอดคล้องกับทิศทางการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และสอดคล้องกับหลักการ ๓ ก. เสาหลักของ การเป็นชุมชนเข้มแข็ง

  8. ความท้าทาย(ต่อ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ๒. ให้ชุมชนและท้องถิ่นเป็นผู้แสดงบทบาทหลักในการทำงานเจ้าหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนในฐานะสมาชิกเครือข่ายส่งเสริมให้ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategic Map)ของชุมชนเป็นเครื่องมือใหม่ๆ ในการทำงานร่วมกัน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการสร้างแผนชุมชนและการแปลงแผนชุมชนไปสู่การปฏิบัติ

  9. ความท้าทาย(ต่อ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ๓.สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมงานสาธารณสุขมูลฐานในระดับพื้นที่ ให้มีการจัดการความรู้ระดับชุมชน เปิดเวทีและช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างกว้างขวาง สร้างและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ทั้งในหมู่อาสาสมัคร เจ้าหน้าที่ผู้สนับสนุนและภาคีเครือข่าย

  10. ความท้าทาย(ต่อ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ๔. พัฒนาองค์ความรู้ของ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ให้สอดคล้องกับปัญหาที่เปลี่ยนแปลงไป ให้อสม.ได้มีโอกาสเรียนรู้องค์ความรู้ที่จำเป็น เช่น โรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง อุบัติเหตุ อุบัติภัย เป็นต้น รวมทั้งพัฒนา อสม. จำนวนหนึ่งให้มีความสามารถในการบริหารจัดการ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และแสดงบทบาทที่เข้มแข็งในการจัดการสุขภาพของชุมชน

  11. ความท้าทาย(ต่อ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ๕. พัฒนาองค์กรอาสาสมัครสาธารณสุขที่มีอยู่เดิมให้มี ความเข้มแข็ง มีโครงสร้างและระบบบริหารจัดการที่ดี สามารถพึ่งตนเองได้ ควรมีระเบียบหรือกฎหมายรองรับสถานะความเป็น อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)เท่าที่จำเป็น เพื่อประโยชน์ในการมีระบบสนับสนุนการทำงานจากภาครัฐ ทั้งส่วนกลางและท้องถิ่น

  12. ความท้าทาย(ต่อ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ๖. ส่งเสริมให้มีความหลากหลายในการทำงานสุขภาพ ภาคประชาชน ต้องเปิดแนวคิดการมีส่วนร่วมให้กว้างขวาง ส่งเสริมให้มีโครงสร้างใหม่ๆในการทำงานในรูปแบบอาสาสมัครที่หลากหลาย ในกลุ่มเป้าหมาย หรือพื้นที่ที่มีความแตกต่างกัน

  13. ความท้าทาย(ต่อ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ๗. สร้างขวัญและกำลังใจให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในรูปแบบต่างๆ แต่ต้องไม่มีการตอบแทนในลักษณะของเงินเดือนหรือค่าจ้างประจำ เนื่องจากขัดกับหลักการของการเป็นอาสาสมัคร

  14. แนวคิดในการทำงานปี 2552 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ • เสริมสร้างศักยภาพ อสม./ชุมชนในการป้องกัน • และเตรียมความพร้อมรองรับการระบาดของ • โรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่ • อบรมฟื้นฟู อสม. • พัฒนาศักยภาพ อสม. • กองทุนสุขภาพประจำตำบล • หมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ • แผนที่ยุทธศาสตร์

  15. การสนับสนุนของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพการสนับสนุนของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปี 2552 ด้านงบประมาณ ด้านวิชาการ คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่/สื่อต่างๆ คู่มือสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข Text1 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

  16. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ งบประมาณสนับสนุนหมู่บ้าน 1. คัดเลือก อสม.ในระดับจังหวัด ๆ ละ 10,000 บาท 2. รณรงค์การจัดงานวัน อสม.จังหวัด ๆ ละ 10,000 บาท 3. สนับสนุนเครือข่ายตำบลจัดการสุขภาพ จังหวัดละ 2 ตำบล ๆ ละ 10,000 บาท 4. อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. เป้าหมาย 150,000 คน 5. ซ้อมแผนป้องกันไข้หวัดนกในพื้นที่ปกติ (ร้อยละ 50 ของอำเภอทั่วประเทศ อำเภอละ 10,000 บาท 6. สนับสนุนงบประมาณพื้นที่ที่มีสัตว์ปีกป่วยหรือตาย ทุกตำบลในอำเภอนั้น

  17. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การสนับสนุนด้านวิชาการ 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองสช. 2. ประชุมการจัดทำแผนปฏิบัติการ ศูนย์สช.ภาค 3. อบรมหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ / ศูนย์สช.ภาค แผนที่ยุทธศาสตร์ 4. การนิเทศติดตาม ผู้บริหารกรม/ ศูนย์สช.ภาค 5. เวทีสรุปบทเรียนแลกเปลี่ยนประสบการณ์ศูนย์สช.ภาค 6. การประชุมสรุปผลและประเมินผลการดำเนินงานกองสช.

  18. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การสนับสนุนด้านสื่อวัสดุอุปกรณ์/สื่อ • วารสารสุขภาพภาคประชาชน • หนังสือพิมพ์-เพื่อนผสส. อสม. (รายเดือน) • หนังสือพิมพ์อปท.นิว (รายเดือน) • แนวทางการดำเนินการหมู่บ้านจัดการสุขภาพ • โปรแกรมการประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ • แนวทางการคัดเลือกอสม.ดีเด่นปี 2552 • วัสดุอุปกรณ์สำหรับซ้อมแผนไข้หวัดนก • เช่น หน้ากากอนามัย เจล ถุงมือ (บางส่วน)

  19. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การสนับสนุนด้านการศึกษา • การสนับสนุนให้ อสม. และบุตร ธิดา ของ อสม. ได้รับโควตาเข้าศึกษาต่อในสถาบัน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข • ในปี 2552 กระทรวงสาธารณสุข จัดสรร โควตาจำนวน 375 โควตา กรมสบส.เสนอ หลักเกณฑ์การให้คะแนนสำหรับบุตรอสม. ดีเด่น

  20. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ อสม. ที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน 1 • การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในระดับที่สูงขึ้น • การเพิ่มสวัสดิการด้านการักษาพยาบาลสำหรับอสม. ที่ทำงาน • มากกว่า 10 ปีขึ้นไป ได้รับส่วนลดค่าห้องพิเศษและค่าอาหารพิเศษ • ครึ่งหนึ่ง • การจัดสรรโควต้าการศึกษาแก่อสม.และบุตรให้ศึกษาในหลักสูตร ของกระทรวงสาธารณสุข • การเทียบตำแหน่งอสม. ให้สามารถเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายไปราชการ เท่ากับข้าราชการระดับ 3

  21. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ อสม. ที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน (ต่อ) 1 • การเทียบโอนประสบการณ์ในการทำงานในตำแหน่ง อสม. • ให้เป็นผลการเรียนในระบบการศึกษานอกโรงเรียน • กำหนดระเบียบให้อสม.สามารถเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการออกปฏิบัติงาน • ในภาวะฉุกเฉินได้วันละ 100 บาท • ขอลดหย่อนอัตราค่าโดยสารรถไฟให้กับ อสม.ในช่วงเดือน มิ.ย.- ก.ย. • ของทุกปี • จัดประกวดและให้รางวัลแก่อสม. ที่มีผลงานดีเด่นในระดับต่าง ๆ

  22. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ อสม. ในปี 2552 กำลังดำเนินการเพิ่มเติม 2 • การคัดเลือก อสม.ดีเด่น 11 สาขา (เพิ่มสาขาอนามัยแม่และเด็ก) • การให้โควต้าการศึกษาแก่อสม.และบุตรจำนวน 375 โควต้า • การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในระดับที่สูงขึ้น • การพัฒนากฎระเบียบเพื่อรองรับสถานะและคุ้มครองการปฏิบัติงาน • ของอสม. • จัดค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานให้กับอสม.เป็นรายกิจกรรม • กรณีที่ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ

  23. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การคัดเลือกอสม.ดีเด่นประจำปี 2552 จำนวน 11 สาขา ได้แก่ (1) สาขาการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ (2) สาขาสุขภาพจิตในชุมชน (3) สาขายาเสพติดในชุมชน (4) สาขาการบริการใน ศสมช. (5) สาขาการคุ้มครองผู้บริโภค (6) สาขาการแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านสุขภาพ (7) สาขาเอดส์ในชุมชน (8) สาขาการส่งเสริมสุขภาพ (9) สาขาการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (10) สาขาการจัดการสุขภาพชุมชน (11) สาขาอนามัยแม่และเด็ก

  24. การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ชั้นเหรียญเงินให้แก่ อสม.ดีเด่นระดับ ชั้นเหรียญทองให้แก่ อสม.ดีเด่นระดับดีเยี่ยม ปี 2552 (16 คน)

  25. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตำบลจัดการสุขภาพ • ปี 2552 มีเป้าหมายตำบลจัดการสุขภาพ • 2 ตำบล/จังหวัด รวม 150 ตำบล • งบประมาณ 10,000-30,000 บาท/ตำบล • แนวทางการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ • แบบประเมินและเกณฑ์การประเมินตำบล • จัดการสุขภาพ

  26. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กองทุนสุขภาพประจำตำบล • กรม สบส. มีนโยบายสนับสนุนการดำเนินการ กองทุนสุขภาพประจำตำบล • กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายให้ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ • เป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน • จำนวนกองทุนสุขภาพตำบล 2600 กว่าแห่ง • กองทุนสุขภาพตำบลในปัจจุบันที่มีการใช้ แผนที่ ยุทธศาสตร์จำนวน 50 แห่ง

  27. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สวัสดี

More Related