1 / 53

การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผลไม้เศรษฐกิจ

การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผลไม้เศรษฐกิจ. เพื่อการพัฒนาเกษตรที่สูงอย่างยั่งยืน ปี 2. คณะผู้วิจัย. หัวหน้าโครงการ ผศ.ดร. เมธินี เห่ว ซึ่งเจริญ โครงการย่อย 1 ศ.ดร.นิธิยา รัตนา ปนนท์ หัวหน้าโครงการย่อย 1 ดร.อุษาวดี ธนสุต ผู้วิจัยร่วม โ ครง การย่อย 2

roana
Télécharger la présentation

การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผลไม้เศรษฐกิจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผลไม้เศรษฐกิจการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผลไม้เศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาเกษตรที่สูงอย่างยั่งยืนปี 2

  2. คณะผู้วิจัย • หัวหน้าโครงการ • ผศ.ดร.เมธินีเห่วซึ่งเจริญ • โครงการย่อย 1 • ศ.ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์ หัวหน้าโครงการย่อย 1 • ดร.อุษาวดี ธนสุต ผู้วิจัยร่วม • โครงการย่อย 2 • รศ.รัตนา อัตตปัญโญ หัวหน้าโครงการย่อย 2 • ผศ.ดร.ศรีสุวรรณ นฤนาทวงศ์สกุล ผู้วิจัยร่วม • โครงการย่อย 3 • ผศ.ดร.บุศรากรณ์ มหาโยธี หัวหน้าโครงการย่อย 3 • โครงการย่อย 4 • ผศ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์ หัวหน้าโครงการย่อย 4 www.themegallery.com

  3. ผลไม้สุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภคผลไม้สุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภค 1 การพัฒนากระบวนการอบแห้งมะม่วง โดยไม่ใช้สารประกอบของซัลเฟอร์ 2 กระบวนการอบแห้งมะม่วงและลิ้นจี่ชนิดหวานน้อย 3 การทำผลิตภัณฑ์ มะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยผง โดยใช้เทคนิคลดขนาดที่อุณหภูมิต่ำมาก 4 การทดลอง

  4. ผลไม้สุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภคผลไม้สุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภค 1 จุดประสงค์ เพื่อคัดเลือกพันธุ์ คุณลักษณะสำคัญและระยะการสุกที่เหมาะสมต่อการ ผลิตผลมะม่วงหั่นชิ้น ผลลิ้นจี่และลำไยสดพร้อมบริโภค 1.1 เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ชีวเคมี และ สรีรวิทยาของผลมะม่วงหั่นชิ้น ผลลิ้นจี่และลำไยสดพร้อมบริโภค 1.2 เพื่อศึกษาหาวิธีการปรับปรุงคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาผลมะม่วงหั่นชิ้นผลลิ้นจี่และลำไยพร้อมบริโภค 1.3 ศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพด้านกายภาพ เคมี และคุณภาพทางประสาทสัมผัสภายหลังการอบแห้งและในระหว่างเก็บรักษา เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา และลดการเปลี่ยนแปลงสีน้ำตาลในระหว่างการเก็บ 1.4

  5. การพัฒนากระบวนการอบแห้งมะม่วงการพัฒนากระบวนการอบแห้งมะม่วง โดยไม่ใช้สารประกอบของซัลเฟอร์ 2 จุดประสงค์ • เพื่อทราบชนิดและอัตราส่วนของสารยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลที่ไม่ใช่สารประกอบซัลเฟอร์ที่เหมาะกับมะม่วงและลิ้นจี่ 2.1 • เพื่อทราบวิธีการแช่สารยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลที่เหมาะสมกับมะม่วงและลิ้นจี่ 2.2 เพื่อทราบสภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งของมะม่วงโดยใช้ เตาอบลมร้อน 2.3 เพื่อทราบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระหว่างการเก็บรักษาของ มะม่วงอบแห้ง 2.4

  6. กระบวนการอบแห้งมะม่วงและลิ้นจี่ชนิดหวานน้อยกระบวนการอบแห้งมะม่วงและลิ้นจี่ชนิดหวานน้อย 3 จุดประสงค์ เพื่อหากระบวนการผลิตที่เหมาะสมที่สุดในการทำเนื้อมะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยผง โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทำแห้งเยือกแข็งและเทคนิค การลดขนาดที่อุณหภูมิต่ำมาก 3.1 • เพื่อทราบขนาดเฉลี่ยและการกระจายขนาดอนุภาคของเนื้อมะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยผง 3.2

  7. การทำผลิตภัณฑ์ มะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยผง โดยใช้เทคนิคลดขนาดที่อุณหภูมิต่ำมาก 4 จุดประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการดึงน้ำบางส่วนออกจากผลไม้โดยการแช่ในสารละลายออสโมติก 4.1 เพื่อศึกษากระบวนการดึงน้ำบางส่วนออกจากผลไม้โดยการอบแห้ง 4.2 เพื่อเปรียบเทียบผลของวิธีการดึงน้ำออกต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ แช่แข็ง 4.3 เพื่อศึกษาผลของอายุการเก็บต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์แช่แข็ง 4.4

  8. วัตถุดิบ Mango (Mangiferaindica) โชคอนันต์ น้ำดอกไม้ มหาชนก Lychee (Litchi chinensis) ฮงฮวย กิมเจง จักรพรรดิ์ Longan (Dimocarpuslongan) ดอ เบี้ยวเขียว

  9. ผลไม้สุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภคผลไม้สุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภค 1 ก ข 1.1 การศึกษาระยะการสุกที่เหมาะสมต่อการผลิตเนื้อมะม่วงสุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภค • มะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ • ระยะการสุกที่ 1 บ่มเป็นเวลา 3 วัน • ระยะการสุกที่ 2 บ่มเป็นเวลา 6 วัน • ระยะการสุกที่ 3 บ่มเป็นเวลา 8 วัน • พันธุ์มหาชนก • ระยะการสุกที่ 1 บ่มเป็นเวลา 3 วัน • ระยะการสุกที่ 2 บ่มเป็นเวลา 4 วัน • ระยะการสุกที่ 3 บ่มเป็นเวลา 5 วัน เลือกระยะการสุกที่ 1ในการผลิต Figure 1 การเปลี่ยนแปลงค่าความแน่นเนื้อของเนื้อมะม่วงสุกหั่นชิ้นทั้ง 3 ระยะการสุก ระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 วัน (ก) พันธุ์โชคอนันต์ และ (ข) พันธุ์มหาชนก

  10. 1.2 คัดเลือกชนิดสารฆ่าเชื้อบริเวณเปลือกผลไม้ PAAลดจุลินทรีย์ได้มากกว่าและใช้ความเข้มข้นน้อยกว่า (log cfu/g) Figure 2 จำนวนจุลินทรีย์ของเปลือกมะม่วง ลิ้นจี่และลำไยที่ล้างด้วยสารฆ่าเชื้อชนิดต่างๆเมื่อเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส

  11. 1.3 คัดเลือกชนิดสารฆ่าเชื้อบริเวณเนื้อผลไม้ ไม่แตกต่างกัน แต่ PAAใช้ความเข้มข้นน้อยกว่า (log cfu/g) Figure 3 จำนวนจุลินทรีย์ของเนื้อมะม่วง ลิ้นจี่และลำไยที่ล้างด้วยสารฆ่าเชื้อชนิดต่างๆเมื่อเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส

  12. 1.4 คัดเลือกความเข้มข้น PAA สำหรับฆ่าเชื้อจุลินทรีย์บริเวณเนื้อผลไม้ มะม่วง ไม่แตกต่างกัน (log cfu/g) Figure 4 จำนวนจุลินทรีย์บนเนื้อมะม่วงที่ล้างด้วยสารฆ่าเชื้อ PAA ที่ความเข้มข้นต่างๆ

  13. ลิ้นจี่ ไม่แตกต่างกัน (log cfu/g) Figure 5 จำนวนจุลินทรีย์บนเนื้อลิ้นจี่ที่ล้างด้วยสารฆ่าเชื้อ PAA ที่ความเข้มข้นต่างๆ

  14. Control Tap water NaOCl PAA Growth of bacteria onPlate Count Agar (PCA) Figure 6 จุลินทรีย์บนเนื้อมะม่วงที่ล้างด้วยสารฆ่าเชื้อชนิดต่างๆ

  15. ข ค ระยะเวลาการเก็บรักษา (วัน) 1.5 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหลังการแปรรูป ความแน่นเนื้อ (นิวตัน) มะม่วง Figure 7 การเปลี่ยนแปลงค่าความแน่นเนื้อของเนื้อมะม่วงสุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภค ระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 วัน (ก) พันธุ์น้ำดอกไม้ (ข) พันธุ์โชคอนันต์ (ค) พันธุ์มหาชนก

  16. 1.5 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหลังการแปรรูป ลิ้นจี่ Figure 8 การเปลี่ยนแปลงลักษณะเนื้อสัมผัสของเนื้อลิ้นจี่พันธุ์ (ก) ฮงฮวย (ข) กิมเจง และ (ค) จักรพรรดิ ที่ล้างเปลือกและเนื้อด้วย PAA100 และ 50 mg/l เป็นเวลา 5 และ 1 นาที ระหว่างการเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 95+2 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 12 วัน

  17. A B 1.5 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหลังการแปรรูป ลำไย Figure 9 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงความแน่นเนื้อของเนื้อลำไยสดพร้อมบริโภคพันธุ์ (A) ดอ (B) เบี้ยวเขียว ที่แช่ในสารละลายต่างๆ และเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 95±2 เปอร์เซ็นต์ เป็นระยะเวลา 12 วัน

  18. 1.6การศึกษาระดับความเข้มข้นของแคลเซียมคลอไรด์เพื่อช่วยช่วยปรับปรุงลักษณะเนื้อสัมผัส1.6การศึกษาระดับความเข้มข้นของแคลเซียมคลอไรด์เพื่อช่วยช่วยปรับปรุงลักษณะเนื้อสัมผัส มะม่วง Figure10ค่าความแน่นเนื้อของเนื้อมะม่วงพันธุ์มหาชนก เมื่อจุ่มในสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา 5 นาที

  19. ลิ้นจี่ ความแน่นเนื้อ (นิวตัน) Figure11 ค่าความแน่นเนื้อของเนื้อลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย พันธุ์กิมเจง และพันธุ์จักรพรรดิ หลังจากแช่ในสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) ที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา 5 นาที

  20. ลำไย ความแน่นเนื้อ (นิวตัน) Figure12 ค่าความแน่นเนื้อของเนื้อลำไยพันธุ์ดอ และพันธุ์เบี้ยวเขียวหลังจากแช่ในสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) ที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา 5 นาที

  21. การพัฒนากระบวนการอบแห้งมะม่วงการพัฒนากระบวนการอบแห้งมะม่วง โดยไม่ใช้สารประกอบของซัลเฟอร์ 2 2.1 การคัดเลือกสารทดแทนที่ใช้ยับยั้งเอนไซม์โพลีฟีนอลออกซิเดสและเปอร์ออกซิเดส 2.1.1 การคัดเลือกสารทดแทนสารประกอบซัลเฟอร์ในมะม่วง

  22. การยับยั้งการทำงานของเอนไซม์โพลีฟีนอลออกซิเดส (%) Figure13 การเปลี่ยนแปลงการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์โพลีฟีนอลออกซิเดสของสารทดแทนสารประกอบซัลเฟอร์ชนิดต่างๆ บนเนื้อมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์

  23. การยับยั้งการทำงานของเอนไซม์เปอร์ออกซิเดส (%) Figure14 การเปลี่ยนแปลงการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์เปอร์ออกซิเดสของสารทดแทนสารประกอบซัลเฟอร์ชนิดต่างๆ บนเนื้อมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์

  24. 2.1.1 การคัดเลือกสารทดแทนสารประกอบซัลเฟอร์ในลิ้นจี่

  25. Figure15 การเปลี่ยนแปลงการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์โพลีฟีนอลออกซิเดสของสารทดแทนสารประกอบซัลเฟอร์ชนิดต่างๆ บนเนื้อลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย

  26. Figure16 การเปลี่ยนแปลงการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์เปอร์ออกซิเดสของสารทดแทนสารประกอบซัลเฟอร์ชนิดต่างๆ บนเนื้อลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย

  27. 2.2 ศึกษาสภาวะการอบแห้งที่เหมาะสมของเนื้อมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ โดยใช้ตู้อบลมร้อน Figure17 กราฟการอบแห้งมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์และค่าทางกายภาพและเคมี

  28. กระบวนการอบแห้งมะม่วงและลิ้นจี่ชนิดหวานน้อยกระบวนการอบแห้งมะม่วงและลิ้นจี่ชนิดหวานน้อย 3 ตัดขั้ว, ปอกเปลือก หั่นเป็นชิ้นตามความยาวของผล หนา  1 ซม. แช่ 0.5 % CaCl2 + 0.5% Citric acid (30 นาที) ลวก 80oC 3 นาที (b) แช่ชิ้นมะม่วงในสารละลาย (nb) (ตาราง pre-treatment) น้ำ:เนื้อ 2 :1 เป็นเวลา 2 ชม. แช่น้ำเย็น แช่ชิ้นมะม่วงในสารละลาย (ตาราง pre-treatment) น้ำ:เนื้อ 2:1 เป็นเวลา 2 ชม. อบที่ 70oCจนได้ค่า Aw0.75

  29. Pre-treatment ก่อนการอบแห้ง C = Control (ตัวอย่างที่ไม่ผ่าน pre-treatment ใดๆ เลย) nb = non-blanching (ตัวอย่างที่ไม่ผ่านการลวก) b = blanching (ตัวอย่างที่ผ่านการลวกที่ 80oC 3 นาที)

  30. 3.1 ผลของpre-treatmentด้วยสารละลายออสโมติกดีไฮเดรชันร่วมกับสารยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลต่อคุณลักษณะของลิ้นจี่อบแห้ง 3.1.1 water activity ของผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการอบแห้ง Figure18 ค่า water activity ของเนื้อลิ้นจี่อบแห้งที่ผ่านการเก็บรักษาเป็นเวลา 0 - 5 เดือน

  31. 3.1.2 ค่ากิจกรรมเอนไซม์ PPO ของผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการอบแห้ง ลิ้นจี่ PPO activity (unit/g db) Figure19 ค่า PPO activity ของเนื้อลิ้นจี่อบแห้ง

  32. 3.1.3การเปลี่ยนแปลงค่าปริมาณการเกิดสีน้ำตาลทั้งหมด (Degree of browning) ลิ้นจี่ Figure20 ค่าปริมาณการเกิดสีน้ำตาลทั้งหมดของเนื้อลิ้นจี่อบแห้ง

  33. 3.1.4การเปลี่ยนแปลงค่าปริมาณสาร HMF(5-hydroxymethylfurfural ) ลิ้นจี่ Figure21 การเพิ่มขึ้นของ HMF ในลิ้นอบแห้งที่ผ่าน pre-treatment แต่ละวิธี และเก็บเป็นเวลา 0.5, 1 และ 2 เดือน

  34. 3.1.5การเปลี่ยนแปลงค่าสี3.1.5การเปลี่ยนแปลงค่าสี ลิ้นจี่ Figure22 การเปลี่ยนแปลงค่าสีของลิ้นจี่อบแห้งที่ผ่าน pretreatment ระยะเวลาการเก็บรักษา 0 – 5 เดือน

  35. 3.2 การหาสภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งผลิตภัณฑ์ลิ้นจี่ Figure23 ลิ้นจี่อบแห้งที่อุณหภูมิต่างๆ (a) 80oC (b) 80oC และ 70oC (c) 70oC (d) 70oC และ 60oC

  36. Figure24 กราฟการอบแห้งลิ้นจี่ที่สภาวะต่างๆ (a) 80C, (b) 80C และ 70C, (c) 70C และ (d) 70C และ 60C.

  37. 3.3 ผลของการใช้สภาวะร่วมระหว่างการอบแบบเปลี่ยนระดับอุณหภูมิ และการทำpre-treatmentต่อคุณสมบัติทางเคมีกายภาพของลิ้นจี่อบแห้ง 3.3.1 water activity water activity Figure25 ค่า water activity ของเนื้อลิ้นจี่อบแห้ง

  38. L* 3.3.2 ค่าสี a* b* Figure26 ค่าสีของเนื้อลิ้นจี่อบแห้ง

  39. 3.3.3 ค่ากิจกรรมของเอนไซม์ PPO PPO activity (unit/g db) Figure27 ค่ากิจกรรมการทำงานของเอนไซม์ PPO ของเนื้อลิ้นจี่อบแห้ง

  40. 3.3.4 ค่าการเกิดสีน้ำตาล DB (Abs) Figure28 ค่าการเกิดสีน้ำตาลของเนื้อลิ้นจี่อบแห้ง

  41. 3.3.5 ค่า HFM HMF (Abs) Figure29 ค่า HFM ของเนื้อลิ้นจี่อบแห้ง

  42. การทำผลิตภัณฑ์ มะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยผง โดยใช้เทคนิคลดขนาดที่อุณหภูมิต่ำมาก 4 วิธีที่ 1 วิธีที่ 2 วิธีที่ 3 4.1 วิธีการทำมะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยผง แช่ไนโตรเจนเหลว 2นาที แช่ไนโตรเจนเหลว 2นาที อบแห้งในเครื่องทำแห้งแบบถาดที่ T = 65oC, 24 h บดด้วย hammer mill ที่มีการเติมไนโตรเจนเหลวอย่างต่อเนื่อง ทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง 48 h แช่ไนโตรเจนเหลว 2นาที บดด้วย hammer mill ที่มีการเติมไนโตรเจนเหลวอย่างต่อเนื่อง ทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง 48 h บดด้วย hammer mill ที่มีการเติมไนโตรเจนเหลวอย่างต่อเนื่อง บดด้วย hammer mill ที่มีการเติมไนโตรเจนเหลวอย่างต่อเนื่อง

  43. 4.2 ลักษณะปรากฏของผงลิ้นจี่ ลำไยและมะม่วงผง Figure30 ลักษณะปรากฏทางกายภาพของผงเนื้อลิ้นจี่ ลำไย และมะม่วงที่ผ่านวิธีการทำผงต่างๆ

  44. 4.3 การกระจายตัวอนุภาคผงเนื้อผลไม้ Figure 31 การกระจายตัวของอนุภาคผงเนื้อผลไม้หลังการทำผงด้วยวิธีที่ 1

  45. 4.3 การกระจายตัวอนุภาคผงเนื้อผลไม้ Figure 32 การกระจายตัวของอนุภาคผงเนื้อผลไม้หลังการทำผงด้วยวิธีที่ 2

  46. 4.3 การกระจายตัวอนุภาคผงเนื้อผลไม้ Figure 33 การกระจายตัวของอนุภาคผงเนื้อผลไม้หลังการทำผงด้วยวิธีที่ 3

  47. ผลไม้สุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภคผลไม้สุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภค 1 สรุปผลการทดลอง • อายุผลมะม่วงสุกที่เหมาะสมต่อการผลิตผลไม้สดพร้อมบริโภค เริ่มนับจากการบ่มผลมะม่วงดิบด้วยแคลเซียมคาร์ไบด์ (1 g/ผลไม้ 1 kg) ที่อุณหภูมิ 30 oC เป็นเวลา 3 วัน • การแช่ผลไม้ทั้งเปลือกในกรด peroxyacetic เข้มข้น 100 mg/l เป็นเวลา 3 นาที สามารถลดจำนวนจุลินทรีย์ได้มากกว่าการแช่ใน NaOCl เข้มข้น 200 mg/l เป็นเวลา 3 นาที และน้ำประปา 3 นาที ตามลำดับ • การแช่เนื้อมะม่วง ลิ้นจี่ และลำไย พร้อมบริโภคในกรด peroxyacetic เข้มข้น 50 mg/l เป็นเวลา 1 นาที สามารถลดจำนวนจุลินทรีย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ www.themegallery.com

  48. ผลไม้สุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภคผลไม้สุกหั่นชิ้นพร้อมบริโภค 1 สรุปผลการทดลอง • การแช่เนื้อผลไม้ในสารละลาย CaCl2เข้มข้น 1% ช่วยเพิ่มความแน่นเนื้อของชิ้นเนื้อมะม่วงและลิ้นจี่ ยกเว้นในกรณีของเนื้อลำไย • อายุการเก็บรักษาของเนื้อผลไม้พร้อมบริโภค ที่บรรจุในภาชนะ polyethylene clamshell และเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 + 1oC อยู่ที่ 5 – 6 วัน www.themegallery.com

  49. สรุปผลการทดลอง การพัฒนากระบวนการอบแห้งมะม่วงโดยไม่ใช้สารประกอบของซัลเฟอร์ 2 • การแช่เนื้อมะม่วงสุกพันธุ์โชคอนันต์ในสารละลายผสมระหว่าง 4-เฮกซิลเรโซซินอล (0.001 M) โพแทสเซียมซอร์เบท (0.05 M) และไอโซแอสคอร์บิก (0.5 M) สามารถยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลได้ดีที่สุด • การแช่เนื้อลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวยในสารละลายผสมระหว่าง คาราจีแนน (0.5%) และ • กรดซิตริก (0.5%) สามารถยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลได้ดีที่สุด • การแช่เนื้อผลไม้ในสารละลายผสมภายใต้สภาวะสุญญากาศ 20 นาที ร่วมกับสภาวะปกติ 2 นาที สามารถยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลได้เพิ่มขึ้น • วิธีอบแห้งที่เหมาะสมคืออบที่อุณหภูมิ 70oC 4 ชม. และลดอุณหภูมิเป็น 60oC 13 ชม. • สามารถเก็บมะม่วงอบแห้งได้นาน 16 สัปดาห์ ที่อุณหภูมิ 25oC โดยคะแนนยอมรับเท่ากับเนื้อมะม่วงที่แช่ในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนซัลไฟต์ (6 = ชอบน้อย) www.themegallery.com

  50. กระบวนการอบแห้งมะม่วงและลิ้นจี่ชนิดหวานน้อยกระบวนการอบแห้งมะม่วงและลิ้นจี่ชนิดหวานน้อย 3 สรุปผลการทดลอง • ผลของpre-treatment ด้วยสารละลายออสโมติกร่วมกับการใช้สารยับยั้งการเกิดสีน้ำตาล(กรด, กลีเซอรอล, และทรีฮาโลส) • Pre-treatment ช่วยยับยั้งกิจกรรมของเอนไซม์โพลีฟีนอลออกซิเดส(PPO) ได้ดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับสภาวะควบคุม • การทำ pre-treatment ด้วยสารละลายออสโมติกร่วมกับการใช้สารยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลทำให้ค่า Aw, ค่าการเกิดสีน้ำตาล, HMF,L* และ C* เพิ่มขึ้น • การทำ pre-treatment ด้วยกลีเซอรอล (G) ชะลอการเกิดปฏิกิริยาสีน้ำตาลได้ดีที่สุด ตามด้วยการใช้กลีเซอรอลร่วมกับทรีฮาโลส (GT) และทรีฮาโลส (T) ตามลำดับ www.themegallery.com

More Related